รายงานผลการดำเนินงาน ด้านบริการโครงสร้างพื้นฐาน ระบบสารสนเทศ มธ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
Server Room Technology for Somdejprajaotaksinmaharaj Hospital
การสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
IPv6 Implementation in Thailand
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 (ง31102)
บทที่ 9 การเลือกซื้อใช้งาน และ การติดตั้ง อุปกรณ์เครือข่าย
Accessing the Internet
3.3ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยี 3G. เทคโนโลยี 3G เทคโนโลยี 3G เทคโนโลยี 3G คืออะไร 3G หรือ Third Generation เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคที่ 3 อุปกรณ์การสื่อสารยุคที่ 3 เป็นอุปกรณ์ที่ผสมผสาน.
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้
ระบบสารสนเทศเบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
TelecommunicationAndNetworks
มีหมายเลข IP Address มากกว่าเดิมมาก ทำให้เพียงพอต่อความ ต้องการของผู้ใช้ เครือข่ายมีความน่าเชื่อถือมากขึ้นกว่าเดิม เพราะเป็นการใช้งาน IP จริงทั้งหมด.
ศุภโชค จันทรประทิน ผู้ช่วยนักวิจัย ห้องปฎิบัติการเครือข่ายคอมพิวเตอร์
WIMAX มาทำความรู้จักกับ wimax กันดีกว่า Wimax คืออะไร หน้าที่ของwimax
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย
ได้สั่งการและมอบหมาย
สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การรับ-ส่งวิทยุสื่อสารผ่านเครือข่าย VPN
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.
1). ระบบเครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN)
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สายคู่บิดเกลียว ข้อดี
ข้อดี-ข้อเสียของ สื่อกลาง ในการสื่อสารข้อมูล.
ข้อเสีย 1. ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย 2. ระยะทางจำกัด
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
ข้อเสีย 1.จำกัดความเร็ว
ข้อดี-ข้อเสียของสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
บริการ TOT Leased Line Internet
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Computer Networks
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ประเมินหลังการรับบริการ
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ภาระกิจด้านสารสนเทศ สำนักงานคณบดี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
กลุ่ม A3 ข้าวนก.
วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจมาตรการความปลอดภัยขั้นพื้นฐาน
เครือข่ายแลนไร้สาย wireless LANs
ข้อดีข้อเสียของสื่อกลางประเภทมีสายและไร้สาย
แผนการดำเนินงาน 2558 กองบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
ข้อดี:ราคาถูก,มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน,ติดตั้งง่าย และมีน้ำหนักเบา
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
โครงสร้างของเครือข่ายและเครือข่ายของคอมพิวเตอร์
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
NETWORK.
การใช้งานอินเตอร์เน็ต
Internet Service Privider
ระบบสื่อสารข้อมูลไร้สาย
ข้อดี ราคาถูก ง่ายต่อการ นำไปใช้ ข้อเสีย จำกัด ความเร็ว ใช้กับ ระยะทาง สั้นๆ สายคู่บิดเกลียว.
สายคู่บิด เกลียว ข้อดี ราคาไม่แพงมาก น้ำหนักเบา ติดตั้ง ง่าย ข้อเสีย จำกัดความเร็วใช้กับระยะทางสั้นๆ ในกรณีเป็นสายแบบ ไม่มีชีลด์ ก็จะไวต่อ สัญญาณรบกวน.
ความหมายของ อินเตอร์เน็ต - inter มีความหมายแสดงว่าระหว่าง, อยู่ในระหว่าง, ซึ่งกันและกัน เช่น international = ระหว่างประเทศ - net แปลว่า ตาข่าย แห สวิง.
คณะผู้จัดทำ 1. ด. ญ. สุกันยา มะลิวัลย์ 2. ด. ญ. พชรมน กองอรรถ 3. ด. ญ. สุรัสวดี ภู่รักษ์ เสนอ อาจารย์ พรทิพย์ ตองติดรัมย์ เครือข่ายระบบไร้สาย wirless LAN.
NontriNet CA RapidSSL CA
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ต่อไ ป. ต่อ ไป ต่อ ไป ระบบเครือข่ายในทางคอมพิวเตอร์นั้นก็คือ ระบบ ที่เกิดจากการนำเอาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ พรินเตอร์
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
ชื่อโครงการ ผู้นำเสนอ ฝ่าย วันที่ การประชุมนำเสนอผลการปฏิบัติงานโครงการประจำปีงบประมาณ พ. ศ.2550 นายเกษม วงค์แสน เครือข่ายสื่อสารและบริการวิทยาเขต 30 พฤษภาคม.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่าย MAN จัดทำโดย ด.ญ.รวงข้าว วิริยกสิกร ม.๒/๔ องคุณที่นี่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานผลการดำเนินงาน ด้านบริการโครงสร้างพื้นฐาน ระบบสารสนเทศ มธ. งานระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย สถาบันประมวลข้อมูลเพื่อการศึกษาและการพัฒนา มธ. ipied.tu.ac.th ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖

โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ มธ. ที่ (สปข.) ให้บริการ ผู้ใช้บริการ ศูนย์การศึกษา: ทั้ง ๔ ศูนย์ฯ หน่วยงาน: >๖๐ PC: >๑ หมื่น ผู้ใช้: >๔ หมื่น ผู้ใช้ WiFi: >๑ หมื่นคน อุปกรณ์ WiFi: ทยอยเพิ่มขึ้น...

หน้าที่รับผิดชอบ/ขอบเขตงานที่ (สปข.) ให้บริการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ มธ. ศึกษาเทคโนโลยี/ความต้องการของผู้ใช้/ หน่วยงาน/มธ. เพื่อนำมาจัดทำแผนพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ มธ. ร่วมดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง และควบคุม การดำเนินโครงการฯ ให้เป็นไปตามสัญญา ทบทวนและปรับปรุงแผน/โครงการ ให้เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง เฝ้าตรวจสอบ/รับแจ้งฯ ติดตาม/แก้ไข เหตุขัดข้อง เมื่อพบเหตุขัดข้อง วิศวกรของ สปข.จะเข้าตรวจสอบเบื้องต้น + แก้ไข หากแก้ไขไม่ได้ จะแจ้งบริษัทให้เข้ามาซ่อมบำรุง ให้คำปรึกษาทางเทคนิคแก่หน่วยงาน ฯลฯ นโยบายให้บริการแก่หน่วยงาน รับผิดชอบจุดต่อเชื่อมเครือข่ายหลักให้กับทุกอาคาร/หน่วยงานของ มธ. หน่วยงานต้องจัดการ/ดูแลระบบเครือข่ายภายในเอง ไม่ได้ควบคุมความเร็ว/ประมาณการใช้งาน แต่จะคอย monitor และเข้าควบคุม เมื่อพบเหตุผิดปกติ โดยจะประสานกับหน่วยงานเพื่อแก้ไข

พัฒนาการด้านโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ มธ. ระดับความเร็ว เครือข่ายหลัก สปข. ได้พัฒนาระบบเครือข่าย มธ. (TU-NET) มาเป็นระยะ โดยได้ปรับเพิ่มความเร็วของเครือข่ายแกนหลัก ให้รองรับความต้องการใช้งาน ระบบสารสนเทศของ มธ. ที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ระดับความเร็ว เครือข่ายหลัก 10 Gbps 1 Gbps TUNET-4 เพิ่มความเร็ว /เสถียรภาพและความปลอดภัยในทุกศูนย์ TUNET-3 เชื่อมโยง ทุกอาคาร ในทุกศูนย์ 100 Mbps TUNET-2 เชื่อมอาคารส่วนใหญ่ที่ศูนย์รังสิต 10 Mbps TUNET-1 เชื่อมบางอาคาร ที่ท่าพระจันทร์ ปี ’๓๕ ’๔๐ ’๔๕ ’๕๐ ’๕๕

เครือข่ายใยแก้วนำแสง มธ. (TU-NET Backbone) ดำเนินการติดตั้งสายใยแก้วนำแสง เชื่อมโยงระหว่างทุกอาคารใน ทุกศูนย์การศึกษา พร้อมเชื่อมโยง ระบบเครือข่ายสารสนเทศของ ทุกหน่วยงานใน มธ. เฝ้าดูแลซ่อมบำรุงอย่างต่อเนื่อง

ความเร็ววงจรเครือข่ายสารสนเทศ และสัญญาณอินเตอร์เน็ต มธ ความเร็ววงจรเครือข่ายสารสนเทศ และสัญญาณอินเตอร์เน็ต มธ. ปีงบประมาณ ๕๖ (๑ ต.ค. ๕๕ – ๓๐ ก.ย. ๕๖)

ปริมาณการใช้งานช่องสัญญาณอินเทอร์เน็ต มธ. สถิติการใช้ช่องสัญญาณฯ ต่างประเทศ รวมทั้ง มธ. รายชั่วโมง (๑๙ ก.พ. ๕๖) รายวัน (๑๐ ก.พ.- ๑๖ ก.พ. ๕๖) ปีงบประมาณ (๑ ต.ค. ๕๖ - ๗ ก.พ. ๕๖)

การดำเนินงานพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานฯ ปี ‘๕๖ ๑. โครงการปรับปรุงระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ (IT infrastructure) TU-NET4P2 เปลี่ยนอุปกรณ์เครือข่ายศูนย์กลางและอุปกรณ์เครือข่ายหลักประจำ ทุกอาคาร ทั้งที่ศูนย์รังสิตและท่าพระจันทร์ ให้พร้อมรองรับเทคโนโลยีระดับ 10 Gbps และรองรับ IPv6 เพิ่มความเร็วเครือข่ายให้กับอาคารที่มีความต้องการใช้งานเป็น 2-4 Gbps ๒. การปรับปรุงบริการระบบ Wireless LAN มธ. ติดตั้งอุปกรณ์ access point รวมกว่า ๑.๑ พันตัว เพื่อให้มีสัญญาณเครือข่ายไร้สาย ครอบคลุมพื้นที่สาธารณะ ในทุกๆ ชั้น ของทุกๆ อาคาร ในบริเวณพื้นที่การศึกษา ทั้งศูนย์รังสิตและท่าพระจันทร์ ให้เข้าใช้งานด้วยบัญชี/รหัสผู้ใช้ของนักศึกษา มธ. เดียวกันในทุกจุด มีระบบให้ผู้ใช้ลงทะเบียนอุปกรณ์มือถือ/พกพาเพื่อใช้งานได้เอง (BYOD) ทำให้เข้าใช้งานเครือข่ายได้สะดวกยิ่งขึ้น Cisco Aironet 2602I

แผนดำเนินงานพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานฯ และการปรับปรุงระบบบริการ Wi-Fi network มธ. (งบ’๕๖) ปัจจุบัน

การนำ IPv6 มาใช้งานใน มธ. IPv4 มีจำกัด/หมดแล้ว การใช้ NAT IPv4 มีภาระต่อระบบ/การใช้งานมาก IPv6 มีจำนวนได้ถึง 3.4 x 1038 เลขหมาย และ IPv6 จะทำงานได้เร็วกว่า ในหลายกรณี ทั่วโลกจะเริ่มทยอยใช้ IPv6 อย่างช้าๆ หน่วยงานใหญ่ๆ เริ่มทดสอบ/ใช้งานแล้ว แต่ก็จะต้องใช้คู่ขนานกับ IPv4 ไปสักระยะ (ไม่มีใครรู้ว่าจะนานแค่ไหน) IPv6 มธ. มธ. ได้รับจัดสรรชุดหมายเลข IPv6 แล้ว ได้แก่หมายเลข 2404:140::/32 (Collapsed format) Start 2404:140:0000:0000:0000:0000:0000:0000 End 2404:140:ffff:ffff:ffff:ffff:ffff เท่ากับจำนวนเลขหมาย 296(=7.9 x 1028) เลขหมาย มีแผนจัดสรรให้หน่วยงานไว้แล้ว Server มธ.จำนวนหนึ่งได้ให้บริการผ่าน IPv6 แล้ว อาทิ www6.tu.ac.th, ipied.tu.ac.th, https://email3.tu.ac.th [web สำหรับทดสอบสถานะ IPv6 http://ipv6-test.com/validate.php] เมื่อเปลี่ยนอุปกรณ์ในปี ๕๖ เสร็จ เครือข่ายส่วนกลาง ทั้งที่รังสิต/ท่าพระจันทร์ จะพร้อมรองรับ IPv6 ให้ทุกหน่วยงานใช้ แต่ภายในหน่วยงานอาจต้องมีการ ปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ตามความจำเป็น คาดว่าจะมีการจัดอบรมหน่วยงานในเรื่อง IPv6 ให้หน่วยงาน ประมาณช่วงกลางปีนี้

(ร่าง)จุดติดตั้งอุปกรณ์เครือข่ายไร้สาย มธ. ศูนย์รังสิต

(ร่าง) จุดติดตั้งอุปกรณ์เครือข่ายไร้สาย มธ. ท่าพระจันทร์

ปัญหา/อุปสรรคที่พบ ในการดำเนินงานให้บริการฯ อาคารสถานที่ + ระบบไฟฟ้า ศูนย์รังสิตมีไฟดับ &ดับไฟ (เพื่อซ่อมบำรุง) ค่อนข้างบ่อย/บางครั้งนานมาก ศูนย์รังสิตมีการปรับปรุงสถานที่อยู่ตลอด กระทบ optical fibre/เครือข่าย เป็นประจำ อาคาร/หน่วยงานที่สร้าง/ปรับปรุงใหม่ มักไม่มีแบบสายเครือข่าย หรือมีก็โดนตัด งบฯ ต้องรองบผ่านทาง สปข. ซึ่งต้องใช้เวลาพอสมควร หน่วยงาน เครื่องผู้ใช้ติดไวรัส + มีการต่อเชื่อมสายเครือข่ายเอง/ไม่ถูกต้อง  รบกวนในกลุ่ม หน่วยงานขนาดเล็ก-กลาง ขาดจนท./ผู้ดูแลระบบ/งบประมาณ IT บางแห่งมีการจ้างคน/บริษัทดูแล สปข.เข้าไปช่วยไม่ได้ (ไม่รู้รหัส/ติดต่อไม่ได้) หน่วยงานอิสระ/เลี้ยงตนเองบางแห่ง สปข. ยังต้องช่วยเหลืออยู่ สปข./มธ. หลายระบบต้องให้บริการ ๒๔ ชม.(Wi-Wi, email, www, etc.) อัตรา จนท. ยัง ไม่สมดุลกับปริมาณงาน หาคน (ที่ต้องการ) ได้ยาก (คล้ายกันทุกหน่วยงาน) แม้เน้น outsource ก็ยังต้องมีคนที่มีความสามารถควบคุมงาน/รักษาประโยชน์ฯ งบประมาณ มักไม่ได้/ไม่เป็นไปตามแผน (</>:) ปัจจัยภายนอก การรบกวน/โจมตี (malware) server/อุปกรณ์เครือข่าย แต่อุปกรณ์มีราคาแพงมาก Net ของผู้ให้บริการ/นปท/ตปท ล่ม (นอกเหนือการควบคุม)

วงจรสัญญาณเชื่อมโยงวิทยาเขตและช่องสัญญาณอินเทอร์เน็ต มธ. เอกสารหมายเลข 2 ผังแสดงภาพรวมการเชื่อมโยงระบบเครือข่าย มธ. วงจรสัญญาณเชื่อมโยงวิทยาเขตและช่องสัญญาณอินเทอร์เน็ต มธ.