รายงานผลการดำเนินงาน ด้านบริการโครงสร้างพื้นฐาน ระบบสารสนเทศ มธ. งานระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย สถาบันประมวลข้อมูลเพื่อการศึกษาและการพัฒนา มธ. ipied.tu.ac.th ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖
โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ มธ. ที่ (สปข.) ให้บริการ ผู้ใช้บริการ ศูนย์การศึกษา: ทั้ง ๔ ศูนย์ฯ หน่วยงาน: >๖๐ PC: >๑ หมื่น ผู้ใช้: >๔ หมื่น ผู้ใช้ WiFi: >๑ หมื่นคน อุปกรณ์ WiFi: ทยอยเพิ่มขึ้น...
หน้าที่รับผิดชอบ/ขอบเขตงานที่ (สปข.) ให้บริการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ มธ. ศึกษาเทคโนโลยี/ความต้องการของผู้ใช้/ หน่วยงาน/มธ. เพื่อนำมาจัดทำแผนพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ มธ. ร่วมดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง และควบคุม การดำเนินโครงการฯ ให้เป็นไปตามสัญญา ทบทวนและปรับปรุงแผน/โครงการ ให้เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง เฝ้าตรวจสอบ/รับแจ้งฯ ติดตาม/แก้ไข เหตุขัดข้อง เมื่อพบเหตุขัดข้อง วิศวกรของ สปข.จะเข้าตรวจสอบเบื้องต้น + แก้ไข หากแก้ไขไม่ได้ จะแจ้งบริษัทให้เข้ามาซ่อมบำรุง ให้คำปรึกษาทางเทคนิคแก่หน่วยงาน ฯลฯ นโยบายให้บริการแก่หน่วยงาน รับผิดชอบจุดต่อเชื่อมเครือข่ายหลักให้กับทุกอาคาร/หน่วยงานของ มธ. หน่วยงานต้องจัดการ/ดูแลระบบเครือข่ายภายในเอง ไม่ได้ควบคุมความเร็ว/ประมาณการใช้งาน แต่จะคอย monitor และเข้าควบคุม เมื่อพบเหตุผิดปกติ โดยจะประสานกับหน่วยงานเพื่อแก้ไข
พัฒนาการด้านโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ มธ. ระดับความเร็ว เครือข่ายหลัก สปข. ได้พัฒนาระบบเครือข่าย มธ. (TU-NET) มาเป็นระยะ โดยได้ปรับเพิ่มความเร็วของเครือข่ายแกนหลัก ให้รองรับความต้องการใช้งาน ระบบสารสนเทศของ มธ. ที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ระดับความเร็ว เครือข่ายหลัก 10 Gbps 1 Gbps TUNET-4 เพิ่มความเร็ว /เสถียรภาพและความปลอดภัยในทุกศูนย์ TUNET-3 เชื่อมโยง ทุกอาคาร ในทุกศูนย์ 100 Mbps TUNET-2 เชื่อมอาคารส่วนใหญ่ที่ศูนย์รังสิต 10 Mbps TUNET-1 เชื่อมบางอาคาร ที่ท่าพระจันทร์ ปี ’๓๕ ’๔๐ ’๔๕ ’๕๐ ’๕๕
เครือข่ายใยแก้วนำแสง มธ. (TU-NET Backbone) ดำเนินการติดตั้งสายใยแก้วนำแสง เชื่อมโยงระหว่างทุกอาคารใน ทุกศูนย์การศึกษา พร้อมเชื่อมโยง ระบบเครือข่ายสารสนเทศของ ทุกหน่วยงานใน มธ. เฝ้าดูแลซ่อมบำรุงอย่างต่อเนื่อง
ความเร็ววงจรเครือข่ายสารสนเทศ และสัญญาณอินเตอร์เน็ต มธ ความเร็ววงจรเครือข่ายสารสนเทศ และสัญญาณอินเตอร์เน็ต มธ. ปีงบประมาณ ๕๖ (๑ ต.ค. ๕๕ – ๓๐ ก.ย. ๕๖)
ปริมาณการใช้งานช่องสัญญาณอินเทอร์เน็ต มธ. สถิติการใช้ช่องสัญญาณฯ ต่างประเทศ รวมทั้ง มธ. รายชั่วโมง (๑๙ ก.พ. ๕๖) รายวัน (๑๐ ก.พ.- ๑๖ ก.พ. ๕๖) ปีงบประมาณ (๑ ต.ค. ๕๖ - ๗ ก.พ. ๕๖)
การดำเนินงานพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานฯ ปี ‘๕๖ ๑. โครงการปรับปรุงระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ (IT infrastructure) TU-NET4P2 เปลี่ยนอุปกรณ์เครือข่ายศูนย์กลางและอุปกรณ์เครือข่ายหลักประจำ ทุกอาคาร ทั้งที่ศูนย์รังสิตและท่าพระจันทร์ ให้พร้อมรองรับเทคโนโลยีระดับ 10 Gbps และรองรับ IPv6 เพิ่มความเร็วเครือข่ายให้กับอาคารที่มีความต้องการใช้งานเป็น 2-4 Gbps ๒. การปรับปรุงบริการระบบ Wireless LAN มธ. ติดตั้งอุปกรณ์ access point รวมกว่า ๑.๑ พันตัว เพื่อให้มีสัญญาณเครือข่ายไร้สาย ครอบคลุมพื้นที่สาธารณะ ในทุกๆ ชั้น ของทุกๆ อาคาร ในบริเวณพื้นที่การศึกษา ทั้งศูนย์รังสิตและท่าพระจันทร์ ให้เข้าใช้งานด้วยบัญชี/รหัสผู้ใช้ของนักศึกษา มธ. เดียวกันในทุกจุด มีระบบให้ผู้ใช้ลงทะเบียนอุปกรณ์มือถือ/พกพาเพื่อใช้งานได้เอง (BYOD) ทำให้เข้าใช้งานเครือข่ายได้สะดวกยิ่งขึ้น Cisco Aironet 2602I
แผนดำเนินงานพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานฯ และการปรับปรุงระบบบริการ Wi-Fi network มธ. (งบ’๕๖) ปัจจุบัน
การนำ IPv6 มาใช้งานใน มธ. IPv4 มีจำกัด/หมดแล้ว การใช้ NAT IPv4 มีภาระต่อระบบ/การใช้งานมาก IPv6 มีจำนวนได้ถึง 3.4 x 1038 เลขหมาย และ IPv6 จะทำงานได้เร็วกว่า ในหลายกรณี ทั่วโลกจะเริ่มทยอยใช้ IPv6 อย่างช้าๆ หน่วยงานใหญ่ๆ เริ่มทดสอบ/ใช้งานแล้ว แต่ก็จะต้องใช้คู่ขนานกับ IPv4 ไปสักระยะ (ไม่มีใครรู้ว่าจะนานแค่ไหน) IPv6 มธ. มธ. ได้รับจัดสรรชุดหมายเลข IPv6 แล้ว ได้แก่หมายเลข 2404:140::/32 (Collapsed format) Start 2404:140:0000:0000:0000:0000:0000:0000 End 2404:140:ffff:ffff:ffff:ffff:ffff เท่ากับจำนวนเลขหมาย 296(=7.9 x 1028) เลขหมาย มีแผนจัดสรรให้หน่วยงานไว้แล้ว Server มธ.จำนวนหนึ่งได้ให้บริการผ่าน IPv6 แล้ว อาทิ www6.tu.ac.th, ipied.tu.ac.th, https://email3.tu.ac.th [web สำหรับทดสอบสถานะ IPv6 http://ipv6-test.com/validate.php] เมื่อเปลี่ยนอุปกรณ์ในปี ๕๖ เสร็จ เครือข่ายส่วนกลาง ทั้งที่รังสิต/ท่าพระจันทร์ จะพร้อมรองรับ IPv6 ให้ทุกหน่วยงานใช้ แต่ภายในหน่วยงานอาจต้องมีการ ปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ตามความจำเป็น คาดว่าจะมีการจัดอบรมหน่วยงานในเรื่อง IPv6 ให้หน่วยงาน ประมาณช่วงกลางปีนี้
(ร่าง)จุดติดตั้งอุปกรณ์เครือข่ายไร้สาย มธ. ศูนย์รังสิต
(ร่าง) จุดติดตั้งอุปกรณ์เครือข่ายไร้สาย มธ. ท่าพระจันทร์
ปัญหา/อุปสรรคที่พบ ในการดำเนินงานให้บริการฯ อาคารสถานที่ + ระบบไฟฟ้า ศูนย์รังสิตมีไฟดับ &ดับไฟ (เพื่อซ่อมบำรุง) ค่อนข้างบ่อย/บางครั้งนานมาก ศูนย์รังสิตมีการปรับปรุงสถานที่อยู่ตลอด กระทบ optical fibre/เครือข่าย เป็นประจำ อาคาร/หน่วยงานที่สร้าง/ปรับปรุงใหม่ มักไม่มีแบบสายเครือข่าย หรือมีก็โดนตัด งบฯ ต้องรองบผ่านทาง สปข. ซึ่งต้องใช้เวลาพอสมควร หน่วยงาน เครื่องผู้ใช้ติดไวรัส + มีการต่อเชื่อมสายเครือข่ายเอง/ไม่ถูกต้อง รบกวนในกลุ่ม หน่วยงานขนาดเล็ก-กลาง ขาดจนท./ผู้ดูแลระบบ/งบประมาณ IT บางแห่งมีการจ้างคน/บริษัทดูแล สปข.เข้าไปช่วยไม่ได้ (ไม่รู้รหัส/ติดต่อไม่ได้) หน่วยงานอิสระ/เลี้ยงตนเองบางแห่ง สปข. ยังต้องช่วยเหลืออยู่ สปข./มธ. หลายระบบต้องให้บริการ ๒๔ ชม.(Wi-Wi, email, www, etc.) อัตรา จนท. ยัง ไม่สมดุลกับปริมาณงาน หาคน (ที่ต้องการ) ได้ยาก (คล้ายกันทุกหน่วยงาน) แม้เน้น outsource ก็ยังต้องมีคนที่มีความสามารถควบคุมงาน/รักษาประโยชน์ฯ งบประมาณ มักไม่ได้/ไม่เป็นไปตามแผน (</>:) ปัจจัยภายนอก การรบกวน/โจมตี (malware) server/อุปกรณ์เครือข่าย แต่อุปกรณ์มีราคาแพงมาก Net ของผู้ให้บริการ/นปท/ตปท ล่ม (นอกเหนือการควบคุม)
วงจรสัญญาณเชื่อมโยงวิทยาเขตและช่องสัญญาณอินเทอร์เน็ต มธ. เอกสารหมายเลข 2 ผังแสดงภาพรวมการเชื่อมโยงระบบเครือข่าย มธ. วงจรสัญญาณเชื่อมโยงวิทยาเขตและช่องสัญญาณอินเทอร์เน็ต มธ.