ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy ทฤษฎีการเงินสมัยคลาสสิกใหม่ New Classical Theory
Robert Lucus, Franco Modigliani Review of the Keynesian Position อุปสงค์และอุปทานรวมคงที่ในระยะสั้น และขึ้นกับค่าของระดับราคาที่คาดคะเน ( Pe ) ซึ่งขึ้นอยู่กับราคาในอดีตและไม่เปลี่ยนแปลงโดยนโยบายในปัจจุบัน ในระยะยาว ?? Rational Expectation เหตุใดหน่วยเศรษฐกิจจึงคาดคะเนระดับราคาโดยขึ้นกับระดับราคาในอดีต หน่วยเศรษฐกิจน่าจะมีการคาดคะเนอย่างมีเหตุผล
Rational Expectation การคาดคะเนถูกสร้างมาบนรากฐานของข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องที่สามารถหามาได้ทั้งหมดที่เกี่ยวกับตัวแปรที่จะทำนาย แต่ละบุคคลใช้ข้อมูลข่าวสารที่ได้มาอย่างชาญฉลาด = เข้าใจวิถีทางที่บรรดาตัวแปรที่สังเกตจะส่งผลกระทบต่อตัวแปรที่ทำการทำนาย
Real Business Cycle Model ความผันผวนของการผลิตและการจ้างงาน – สิ่งที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงในโอกาสที่แท้จริงของระบบเศรษฐกิจภาคเอกชน ปัจจัยต่างๆที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง – การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงของราคาที่แท้จริงของวัตถุดิบนำเข้า การเปลี่ยนแปลงอัตราภาษี แบบจำลองอย่างง่าย ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงต่อเทคโนโลยี นโยบายการเงินและนโยบายการคลัง คำถามต่างๆและข้อวิจารณ์
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy ทฤษฎีการเงินสมัยเคนส์ใหม่ New Keynesian Theory
การนำรูปแบบของตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์มาใช้กับตลาดผลผลิต มุ่งไปที่ความคงตัวของราคาผลผลิตแทนที่จะเป็นค่าจ้างที่เป็นตัวเงิน ตัวแปรที่เป็นตัวเงินคงตัว แบบจำลองราคาคงที่ ( Sticky Price or Menu Cost Model ) แบบจำลองอัตราค่าจ้างที่มีประสิทธิภาพ ( Efficiency Wage Model ) แบบจำลองบุคคลภายใน – บุคคลภายนอก ( Insider – Outsider Model )
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy ทฤษฎีการเงินแบบใหม่
แนวความคิดทฤษฎีสินค้าคงคลัง William Baumol and James Tobin การถือเงิน VS การถือพันธบัตร และการแปลงรูปแบบ ผลตอบแทนที่ได้จากพันธบัตร ต้นทุนจากการแปลงรูปแบบ
แนวความคิดการถือกลุ่มสินทรัพย์ James Tobin – The Portfolio Approach to Money Demand Theory Maximize Utility from Holding Asset Avoiding Risk
U3 U2 U1 U0 W W0 W0(1+i0) RMax R i0 O A
Return U3 U2 U1 H C R1 E R* O SD SD* SD1 B* M* B B1 Bond
SD C(r1) U1 U3 U2 G E Return R0 O B1 Bond B M0 F R2 R1 C(r0) B2 B0 Wh C(r2)