ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy ทฤษฎีการเงินของเคนส์ Keynes Theory
ข้อโต้แย้งของเคนส์ สาเหตุที่ทำให้เกิดการตกต่ำของเศรษฐกิจ คือ การที่อุปสงค์มวลรวมมีไม่พอ การลดค่าแรงที่เป็นตัวเงินไม่สามารถแก้ไขปัญหาการว่างงานได้ตามที่คลาสสิกเสนอ ( เพราะเคนส์เห็นว่าระดับราคากับค่าแรงมีความสัมพันธ์กัน ) คนงานอาจตกอยู่ในภาวะลวงตาทางการเงิน – คนงานต่อต้านการลดค่าแรงที่เป็นตัวเงินแต่ไม่ต่อต้านการลดค่าแรงที่แท้จริง - เส้นอุปทานของแรงงานจะเป็นอย่างไร
สรุป ความเป็นสัดส่วนกันระหว่างปริมาณเงินกับระดับราคา ( The Proportionality of Money and Prices ) ความเป็นกลางทางการเงิน ( The Neutrality of Money ) ทฤษฎีการเงินที่อธิบายการกำหนดราคา ( Monetary Theory of the Price Level ) ปริมาณเงินเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ( The Causality of Money ) ปริมาณเงินเป็นตัวแปรภายนอก ( The Exogeneity of Money )
แบบจำลองของเคนส์ ตลาดแรงงาน
อุปทานของแรงงาน แรงงานจะมีการเจรจาต่อรองค่าแรงงานโดยพิจารณาค่าแรงที่เป็นตัวเงินมากกว่าค่าแรงที่แท้จริง ค่าแรงที่เป็นตัวเงินไม่สามารถเคลื่อนไหวได้อย่างเสรี ( Money Wage is Rigid ) โครงสร้างค่าแรงในอุตสาหกรรมอื่น – ความเสียเปรียบ ปัจจัยสถาบัน – สัญญาจ้างระยะยาว การรักษาชื่อเสียง
W / P N NS NF W0 / P0
W / P N NS NF W0 / P0 ND N0
ตลาดผลผลิต r I S Y
ตลาดเงิน บทบาทของตลาดเงิน คือ การกำหนดอัตราดอกเบี้ย ซึ่งขึ้นกับอุปสงค์และอุปทานของเงิน การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับสภาพคล่อง ( The Degree of Liquidity Preference ) อัตราดอกเบี้ยคือผลตอบแทนจากการเสียสละสภาพคล่อง ขยายแนวคิดของเคมบริดจ์ - ทฤษฎีคามพอใจในสภาพคล่อง ( Liquidity Preference Theory )
จุดมุ่งหมายในการถือเงิน ความต้องการเพื่อการจับจ่ายใช้สอย ( Transaction Demand for Money ) ความต้องการถือเงินเพื่อสำรองไว้ในเหตุฉุกเฉิน ( Precautionary Demand for Money ) ความต้องการถือเงินเพื่อเก็งกำไร ( Speculative Demand for Money )
MSpec i MSpec2 MSpec1 i1 i2 i3 Liquidity Trap
บทบาทของเงิน การเปลี่ยนแปลงปริมาณเงินส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงในอุปสงค์ผ่านอัตราดอกเบี้ย ความเชื่อมโยงทางอ้อม ทฤษฎีความต้องการถือเงิน การเปลี่ยนแปลงทุน การลงทุนกับรายได้ประชาชาติ + ตัวคูณ
MD i M M2 M1 i1 i2 M4 M3 M6 M5 i3 i4 i5
ข้อสรุป อัตราดอกเบี้ยมีบทบาทที่สำคัญในการกำหนดความต้องการถือเงินรวม – ถ้าอัตราดอกเบี้ยต่ำมากๆ ความต้องการถือเงินจะมีความยืดหยุ่นสูงอย่างสมบูรณ์ต่อการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ยเป็นปัจจัยสำคัญที่กำหนดอุปสงค์ต่อการลงทุน แต่การลงทุนยังคงขึ้นกับปัจจัยอื่นๆด้วย
นัยทางนโยบาย การเปลี่ยนแปลงปริมาณเงินไม่ได้มีผลกระทบต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจ – เงินไม่มีความหมาย – กับดักสภาพคล่อง การใช้นโยบายกำหนดอัตราการขยายตัวของปริมาณเงินที่คงที่ยิ่งจะทำให้ระบบเศรษฐกิจเกิดความผันผวนและไม่มีเสถียรภาพ การใช้นโยบายการคลังแบบดุลพินิจเป็นสิ่งจำเป็น และดีกว่าการใช้นโยบายการเงิน