ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
การประมาณผลผลิตตามศักยภาพของประเทศไทย Parametric Estimation of Thailand’s Potential Output โดย ปฤษันต์ จันทน์หอม Potential Output.
บทที่ 4 รายได้ประชาชาติ National Income.
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
เศรษฐศาสตร์มหภาค EC 312 บทนำ: Introduction
ประสิทธิภาพการใช้นโยบายภายใต้การวิเคราะห์แบบจำลอง IS-LM
บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363 Gender Economics
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471)
ศ. 432 ทฤษฎีและนโยบายการเงิน
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
ระบบเศรษฐกิจ.
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง
ลัทธิคลาสสิคใหม่ Neoclassical Economics
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิชา เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น Introduction to Economics Lecturer : Orasa Tuntiyawongsa Faculty of Applied Arts. KMITNB
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข
บทที่ 1 บทนำ เศรษฐศาสตร์คืออะไร เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
EC411 ทฤษฏีและนโยบายการเงิน
เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
การบริโภค การออม และการลงทุน
เงินเฟ้อ และเงินฝืด.
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
1 ความเปลี่ยนแปลง ในภาคการเงินและในการ อภิบาลบริษัท ดร. อัมมาร สยามวาลา 9 ธันวาคม 2549.
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
ต้นทุนการผลิต.
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ทฤษฎีการผลิต.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์สำนักคลาสสิก (Classical Theory)

Classical period Neoclassical period Adam Smith : The Nation of Wealth ( 1776 ) David Ricardo : Principles of Political Economy ( 1817 ) John Stuart Mill : Principles of Political Economy ( 1848 ) Neoclassical period Alfred Marshall : Principles of Economics ( 1920 ) A.C.Pigou : The Theory of Unemployment ( 1933 )

เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนเท่านั้น เงินมิได้แสดงฐานะความมั่งคั่งของประเทศ ฐานะของประเทศต้องวัดด้วยปริมาณของทรัพยากรที่มีอยู่และของสินค้าและบริการที่ผลิตขึ้นมาได้ ปัจจัยที่แท้จริงเป็นตัวกำหนดตัวแปรที่แท้จริง ปัจจัยทางการเงินไม่มีบทบาทใดๆต่อการกำหนดตัวแปรที่แท้จริง เพราะเงินทำหน้าที่สื่อกลางในการแลกเปลี่ยนเท่านั้น เศรษฐกิจดำเนินโดยเสรี ปราศจากการแทรกแซงของรัฐ

การกำหนดการจ้างงานและผลผลิต Y N N1 N2

Marginal Physical Product of Labor N1 N2 MPL

Assume : ตลาดผลผลิตเป็นตลาดแข่งขันสมบูรณ์ Marginal Cost = Marginal Revenue ( MC = MR ) Competitive Market : MR = P ในกรณีที่แรงงานเป็นปัจจัยเดียวที่ผันแปรได้ : MC = Marginal Labor Cost Marginal Labor Cost = อัตราค่าแรงที่เป็นตัวเงินหารด้วยผลผลิตที่ได้เพิ่มขึ้นจากการเพิ่มแรงงานหนึ่งหน่วย ( MPL )

ค่าแรงที่แท้จริง ( Real Wage )

W/P N ND

W/P N NS

Y N W W/P N0 NS ND (W/P)0 P P0 W0 ( W / P )0

การกำหนดระดับราคาสินค้า Irving Fisher ( 1911 ) – The Equation of Exchange M : ปริมาณเงินที่มีอยู่ในระบบเศรษฐกิจ VT : จำนวนครั้งโดยเฉลี่ยที่เงินถูกใช้จ่ายในการแลกเปลี่ยนทุกชนิด อัตราการเปลี่ยนมือของเงิน ( Turnover Rate of Money ) PT : ดัชนีราคาของรายการแลกเปลี่ยนทุกชนิด T : ดัชนีปริมาณของรายการแลกเปลี่ยนทุกชนิด

อุปทานของเงินถูกกำหนดโดยธนาคารกลาง Y P MVY อุปทานของเงินถูกกำหนดโดยธนาคารกลาง

การกำหนดอัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นในภาวะดุลยภาพในระยะยาวถูกกำหนดโดยปัจจัยที่แท้จริงเท่านั้น ปัจจัยดังกล่าวคือ ความมัธยัสถ์ของประชาชน ( กำหนดการออมที่แท้จริง ) และผลิตภาพของทุนเป็นเครื่องกำหนดการลงทุนที่แท้จริงในระบบเศรษฐกิจ

r r0 S S , I I S0 , I0

ตลาดทุน r r0 S S , I I S0 , I0 i i0 SF SF , IF DF SF0 , IF0

บทบาทของเงินระยะยาว การเพิ่มขึ้นในอุปทานของเงิน การเพิ่มขึ้นในอุปทานของแรงงาน การเพิ่มขึ้นในอุปสงค์ต่อแรงงาน

บทบาทของเงินในระยะสั้น ในระยะสั้นเงินมีความไม่เป็นกลาง ( Money is Nonneutral ) : การเปลี่ยนแปลงในปริมาณเงินอาจก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวแปรที่แท้จริงในช่วงเวลาปรับตัว เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวขึ้นๆลงๆในกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เกิดวัฏจักรของธุรกิจ กลไกโดยตรง - David Hume and Richard Cantillon กลไกโดยอ้อม – Henry Thornton

กลไกโดยตรง ปริมาณเงินที่ประชาชนต้องการถือกับอัตราการใช้จ่าย และกับระดับทรัพย์สินหรือรายได้เป็นความสัมพันธ์ที่มีเสถียรภาพ ปริมาณเงินที่ถืออยู่จริงเพิ่มขึ้นเกินกว่าความต้องการ จะเกิดการใช้จ่ายส่วนเกินที่ถือครองนี้ออกไป อุปสงค์รวมเพิ่มขึ้น ระดับราคาสินค้าสูงขึ้น มูลค่าที่แท้จริงของปริมาณเงินลดลง จนทำให้ปริมาณเงินที่ถืออยู่จริงเท่ากับปริมาณที่ต้องการอีกครั้ง

Y P Y0 P0 P1 M VY M* VY

กลไกโดยอ้อม อธิบายโดยการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย ระบบธนาคารพาณิชย์ – อัตรากำไรทางพาณิชย์ ( The Rate of Mercantile Profit ) – อัตราดอกเบี้ยตามธรรมชาติ ( Natural Rate of Interest ) สาเหตุที่เกิดความผันผวนในระบบเศรษฐกิจในระยะสั้น