เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษาพฤติกรรม (behavior) ของหน่วยเศรษฐกิจแต่ละประเภท (individual economic units) ได้แก่ • ผู้บริโภค • แรงงาน • เจ้าของธุรกิจ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Workshop. Workshop 1 • แบ่งกลุ่มนักศึกษาเป็น 4 กลุ่ม ในฐานะที่กลุ่มของท่านเป็นผู้บริหาร ระดับกลาง ได้รับมอบหมายจาก ผู้บริหารระดับสูงให้ทำการพัฒนา ปรับปรุงระบบงานสารสนเทศในความ.
Advertisements

โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
การประมาณผลผลิตตามศักยภาพของประเทศไทย Parametric Estimation of Thailand’s Potential Output โดย ปฤษันต์ จันทน์หอม Potential Output.
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
EC451 International Trade Theory and Policy
New Trade Theory ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
การเลือกคุณภาพสินค้า
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
ดุลยภาพทั่วไป (General equilibrium)
ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
บทที่ 1 Introduction เศรษฐศาสตร์จุลภาค คืออะไร
ลัทธิคลาสสิคใหม่ Neoclassical Economics
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
รายวิชาแหล่งสารสนเทศ การเลือกใช้และการประเมินแหล่งสารสนเทศ
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิชา เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น Introduction to Economics Lecturer : Orasa Tuntiyawongsa Faculty of Applied Arts. KMITNB
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 1 บทนำ เศรษฐศาสตร์คืออะไร เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ตลาดและการแข่งขัน.
พฤติกรรมผู้บริโภค.
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
Integrated Marketing Communication
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
วิธีการตรวจสอบ Content Validity
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
ขั้นตอนการวิเคราะห์ การกำหนดโจทย์/ ประเด็นที่ต้องการทดสอบ – ต้องมีความชัดเจน การศึกษาข้อมูลเบื้องต้น การกำหนดกรอบการวิเคราะห์ การเลือกใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์
คณะบริหารธุรกิจ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท bu.ac.th
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
ปริมาณสำรองปิโตรเลียม
Demand in Health Sector
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
การแบ่งส่วนตลาด การเลือกตลาดเป้าหมาย และการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์STP
ต้นทุนการผลิต.
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
บทบาทของข้อมูลการตลาด
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
ตลาด ( MARKET ).
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 การสร้างโอกาสทางธุรกิจ
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษาพฤติกรรม (behavior) ของหน่วยเศรษฐกิจแต่ละประเภท (individual economic units) ได้แก่ • ผู้บริโภค • แรงงาน • เจ้าของธุรกิจ เศรษฐศาสตร์จุลภาคจะอธิบายถึงการตัดสินใจของหน่วยเหล่านี้ โดยดูว่าตัดสินใจอย่างไร (how) และทำไมถึงตัดสินใจอย่างนั้น (why)

ทฤษฎี (theory) เป็นการอธิบายปรากฏการณ์ที่อาศัยข้อสมมติ (assumption) และกฏเกณฑ์พี้นฐาน (basic rules) บางประการ แบบจำลอง (model) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ (ด้วยแนวทางคณิตศาสตร์หรือตรรกะ) ที่อาศัยทฤษฎีเป็นฐานในการระบุความสัมพันธ์และตัวแปรเหล่านั้น แบบจำลองมีไว้เพื่อนำข้อมูลมาสนับสนุน (โต้แย้ง) ทฤษฎีและการทำนายปรากฏการณ์

ทฤษฎีจะถูกต้อง (valid) หรือไม่ขึ้นอยู่ว่าสอดคล้องกับปรากฏการณ์มากน้อยเพียงไร ดังนั้น จึงต้องมีการทดสอบทฤษฏีด้วยข้อมูลอยู่เสมอ หากอธิบายหรือทำนายไม่ได้ ก็อาจต้องทิ้งหรือปรับปรุงใหม่ บางทฤษฏียังคงใช้กันมานานกับกรณีเฉพาะ แม้ว่าจะไม่สามารถอธิบายในวงกว้างได้

การศึกษาแบ่งเป็น positive analysis กับ normative analysis positive analysis คือ การวิเคราะห์หรืออธิบายความสัมพันธ์หรือความเป็นเหตุเป็นผล (what is) normative analysis คือ การวิเคราะห์เพื่อเสนอว่าควรทำ (เลือก) ทางเลือกไหน (what should be) โดยมีดุลยพินิจ (value judgement) เกี่ยวข้อง ต้องแยกแยะให้ได้ว่าเรากำลังวิเคราะห์แบบไหนอยู่

ศัพท์ (terminologies) ที่สำคัญ • optimal trade-off เกิดขึ้นจาก scarcity (เป็นการเลือก choice) • ราคา (การกำหนดราคาและบทบาทของราคา) • ตลาด (ลักษณะของตลาดและการดำเนินการของตลาด)

ตลาด (market) คือ การที่ผู้ซื้อและผู้ขายมากำหนดราคาของสินค้าด้วยการซื้อขายที่เกิดขึ้นจริง (actual) หรือที่อาจจะเกิดขึ้นได้ (potential) อุตสาหกรรม (industry) คือ การรวมกลุ่มของผู้ขายสินค้าที่เหมือนกันหรือใกล้เคียงกัน (เป็นด้านอุปทานของตลาด) ทำไมถึงต้องพูดถึง potential sellers กับ buyers ด้วย เพราะว่า การ arbitrage (ซื้อมาขายต่อ) จะเปลี่ยนสภาพของผู้ซื้อกับผู้ขายได้ (รวมทั้งปริมาณสินค้าด้วย)

ราคาแบ่งเป็น 2 ประเภท • ราคาปัจจุบัน (norminal price หรือ current price) • ราคาแท้จริง หรือราคาคงที่ (real price หรือ constant price) ต้องระบุปีที่เปรียบเทียบไว้ด้วย เหตุผลที่ทั้งสองต่างกันเพราะภาวะเงินเฟ้อ ราคาแท้จริงปรับภาวะเงินเฟ้อแล้ว แต่ราคาปัจจุบันไม่ได้ปรับ จึงต้องเรียนการวัดภาวะเงินเฟ้อ ทำให้สะท้อน real purchasing power ได้