Laboratory in Physical Chemistry II

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงานคอมพิวเตอร์.
Advertisements

สมดุลเคมี.
Flow Through a Venturi September 8th, 2009.
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Experiment 4 The Reaction Rate of Ethyl Acetate and Hydroxyl ion
Weeds & weed management 2 กันยายน 2556 รู้จักเครื่องมือกำจัดวัชพืช
การทดลองที่ 7 การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย
การทดลองที่ 5 Colligative property
การทดลองที่ 9 การศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาสำหรับการวิเคราะห์ระดับแอลกอฮอล์ จากลมหายใจ (A Kinetic Study of “Breathalyzer” Reaction )
ME Exp/Lab 1, Section 8, year 2009
ทบทวนความรู้ การสอบปฏิบัติการครั้งที่ 1
ปัจจัยทีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ปฏิบัติการเรื่อง พฤติกรรมของสัตว์ (Animal Behavior)
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
โครงงานสุขภาพ การทดลองผงซักฟอก.
โครงงานทดสอบประสิทธิภาพของนม
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
การจำแนกตัวอักษรออกจากบรรทัดข้อความ
สรุปใส่ปุ๋ย 100 กก.พืชกินปุ๋ยได้แค่ 30 กก.
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
- Research Questions - Hypothesis & Testing Hypothesis
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
การเสนอโครงการวิจัย.
การควบคุมยุงพาหะนำโรคไข้มาลาเรีย
คัมภีร์ โพธิพงษ์ และ พัชรี คำธิตา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
การเติมน้ำกรด ใช้น้ำกรดที่มีค่าความถ่วงจำเพาะอยู่ระหว่าง ใส่น้ำกรดลงในทุกช่องแบตเตอรี่จนถึงระดับ UPPER ตั้งแบตเตอรี่ทิ้งไว้ในร่มประมาณ 0.5.
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
สภาพน้ำทิ้งของโรงงานผลิตอาหาร ประเภทข้าวเกรียบ ที่เปลี่ยนแปลงไป ภายหลังเติมน้ำสกัด ชีวภาพ BE.
การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ : การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สารเคมีในบ้านเป็นกรดหรือเบส
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
เคมี ม.5 ว30223 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ครูธนพล ถัดทะพงษ์
ความคงตัวของยาฉีดหลังผสม / วิธีบริหารยา และสารละลายเจือจางที่เหมาะสม
Processor Quality Control (การควบคุมคุณภาพการล้างฟิล์ม)
อุปกรณ์และขั้นตอนการทำขนมจีนสมุนไพร
การทำฟลูอิดไดเซชันด้วยก๊าซ
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
รหัสวิชา ภาคต้น ปีการศึกษา 2556
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
ปฏิบัติการเรื่อง การกลั่น
กิจกรรมพื้นฐานทางเคมี
การอบแห้งข้าวที่ผ่านการเคลือบผิวด้วยสารสกัดจากใบเตยด้วยวิธี ไมโครเวฟ
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
ความชันและสมการเส้นตรง
การเตรียมยาในโรงพยาบาล
Department of Food Engineering
ปฏิบัติการเรื่อง การสกัดของเหลวด้วยของเหลว Liquid – Liquid Extraction
การทดลองที่ 3 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I
ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 คณิตศาสตร์ ( ค 31101) กราฟและ การนำไปใช้
ปฏิบัติการเรื่องการแช่แข็ง
1 การผลิตเอทานอลและกรด อินทรีย์ จากลำไยอบแห้ง  นางสาวฐิติพร กัน จันวงศ์  นายณัฐพงษ์ กาละปัน  อ. ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์ รหัสโครงการ R50D01001.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Laboratory in Physical Chemistry II 01403243 Experiment 1 The rate constant determination of an oxidation reaction of KI by K2S2O8 Laboratory in Physical Chemistry II 01403243

ปฏิกิริยา ปฏิกิริยา ความเข้มข้น หาได้จาก ซึ่งได้จากการไทเทรต เป็นปฏิกิริยาอันดับ 2 :: กฏอัตรา กำหนดให้ มีค่ามาก จนเสมือนว่ามีค่าไม่เปลี่ยนแปลง จะได้กฎอัตราเป็น กฎอัตราอินทิเกรต ความเข้มข้น หาได้จาก ซึ่งได้จากการไทเทรต

อัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นกับความเข้มข้นของสารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์ สารส่วนใหญ่ยังคงเกิดปฏิกิริยาต่อไป แต่สารส่วนที่นำมาเจือจางจะถูกชะลอให้เกิดปฏิกิริยาช้าลงมาก ๆ เนื่องจากความเข้มข้นต่ำ 5 mL 3 min ทดสอบหาปริมาณผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น ณ เวลา 3 นาที* โดยการไทเทรต

อุปกรณ์ Volumetric Flask (1*+2+8) ใบ Buret Pipet 25 mL นาฬิกาจับเวลา เครื่องแก้วอื่น ๆ

สารเคมี Satd. K2S2O8 20 mL + น้ำ 80 mL (A) 0.4 M KI 25 mL x 2 = 50 mL (B) 0.01 M Na2S2O3  200 mL น้ำแป้ง (อินดิเคเตอร์)

วิธีการทดลอง 1 ปิเปต A 25 mL และ B 25 mL ใส่รวมกันใน flask* แช่ในน้ำให้มีอุณหภูมิ 60 °C นาน 1 ชั่วโมง ปิเปตสารผสม 5 mL ไทเทรตกับ Na2S2O3 โดยใช้น้ำแป้งเป็นอินดิเคเตอร์ (3 ซ้ำ) คำนวณหา [S2O82-]0 *** (a)

วิธีการทดลอง 2 ปิเปต A 25 mL และ B 25 mL ใส่ใน flask 2 ใบ(แยกกัน) ทิ้งให้อุณหภูมิคงที่เท่ากับอุณหภูมิห้อง เตรียม flask ที่มีน้ำกลั่น 100 mL รวม 8 ใบ เทสาร A และ B รวมกัน เริ่มจับเวลา ปิเปตสารผสม A+B ครั้งละ 5 mL ที่เวลาต่างๆ คือ 3, 8, 15, 20, 30, 40, 50, 60 นาที ใส่ใน flask แต่ละใบ โดยบันทึกเวลาจริงที่สารผสมลงไปในน้ำ ไทเทรตสารผสมกับ Na2S2O3 ทันที โดยใช้น้ำแป้งเป็นอินดิเคเตอร์ (ซ้ำเดียว) คำนวณหา [S2O82-] ที่เวลาต่าง ๆ (a-x)

การบันทึกผล ขวดที่ (นาที) เวลาจริง (s) VNa2S2O3 [I-] x [S2O82-], a-x 3 15 20 30 40 50 60 60***

วิธีการคำนวณ ความเข้มข้นของ I- ถือว่าคงที่ โดยเป็นความเข้มข้นในสารละลายผสม หาความเข้มข้นของ I2 ที่เกิดขึ้น โดยการไทเทรต หาความเข้มข้นของ S2O82- ที่เกิดปฏิกิริยาไปแล้วจาก หาความเข้มข้นของ S2O82- ที่ยังเหลืออยู่จาก

กราฟ พล๊อตกราฟระหว่าง เวลาที่ใช้ (วินาที) กับ log(a-x) จะได้กราฟที่มีแนวโน้มเป็นเส้นตรง หาสมการเส้นแนวโน้ม (เส้นตรง) หาค่าคงที่อัตรา k โดยใช้ข้อมูลจากกราฟและสมการความสัมพันธ์

กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง log(a-x) และ เวลา

การอภิปรายผล ผลจากการไทเทรตเป็นอย่างไร สังเกตจุดยุติยังไง ปริมาณที่ใช้ในแต่ละการไทเทรตเป็นอย่างไร ความเข้มข้น S2O82- เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ความเข้มข้น S2O82- ของการทดลองที่อุณหภูมิ 60 °C เป็นอย่างไร กราฟที่ได้เป็นอย่างไร สอดคล้องกับทฤษฎีหรือไม่ สมการความสัมพันธ์เป็นอย่างไร ค่าคงที่อัตราที่หาได้เป็นอย่างไร

สรุปผล เราศึกษาอะไร มีกระบวนการอย่างไร เทคนิคที่ใช้คืออะไร ผลที่ได้เป็นอย่างไร สอดคล้องกับจุดประสงค์หรือไม่ สอดคล้องกับทฤษฎีหรือไม่