ชีวเคมี I (Biochemistry I)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

ภาระงาน กระบวนการ แหล่งข้อมูล ประเมินผล สรุป
สารชีวโมเลกุล : โปรตีน
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ งานนำเสนอ
เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต เทคโนโลยีทางอาหาร  เปิดหลักสูตรมาตั้งแต่ ปี 2523 ผลิตนิสิตระดับปริญญา โทเข้าทำงานในหน่วยราชการและเอกชนมากกว่า 30 รุ่น  หลักสูตรเทคโนโลยีทางอาหารระดับปริญญา.
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
ลักษณะของระบบนิเวศ Succession /Development ecosystem
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ของส่วนประกอบของเซลล์
ภาควิชากีฏวิทยา ภาควิชากีฏวิทยา ให้การศึกษาทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติในศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับแมลง เพื่อนำความรู้ไปแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ รู้จักแมลงที่มีประโยชน์และโทษ.
Cellular Respiration 18,25 ก.ย. 56
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เอกสารเคมี Chemistry Literature
Physiology of Crop Production
ดิจิตอลและการออกแบบตรรก
ความหลากหลายทางชีวภาพของพืช
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
สิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี้มีรูปร่าง และโครงสร้างที่แตกต่างกัน
ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
Doctor of Philosophy Program in Biopharmaceutical Sciences
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต/ดุษฎีบัณฑิต โครงสร้างของหลักสูตร
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
โพรโทซัว( Protozoa ).
การลำเลียงผ่านเมมเบรน
โครงสร้างในการแลกเปลี่ยนก๊าซของสิ่งมีชีวิต
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
Mr. POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549 สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
Chemical Properties of Grain
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
whey เวย์ : casein เคซีน
Introduction to Metabolism
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
บทนำ แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ ฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อประกอบการติวสอบ O-net ระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 และผู้ที่สนใจได้ฝึกและทบทวนความรู้ โดยขอบข่ายเนื้อหาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
DNA สำคัญอย่างไร.
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
ใช้ในFlip Album รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง(Change)
สารประกอบ.
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
จัดทำโดย นางสาวปิยะธิดา เยาว ลักษณ์โยธิน
นางสาว ชูขวัญ ไพรจิตร เลขที่ 28 นางสาว กัญญาภัค แก้วนวน เลขที่ 30
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
ภาคต้น 2557 เรื่อง Lipids (ตอนที่ 1)
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
จัดทำโดย ด. ช. ฤทธิชัย แจ้งสว่าง ม 1/ 2 เลขที่ 11 ด. ช. ธนะพัฒน์ ทาอูฐ ม.1/2 เลขที่ 5 ด. ช. ภราดร หนูสิทธิ์ เลขที่ 8 click.
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
ชื่อ คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate), แซคคาไรด์ (Saccharide) ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นชื่อเรียกรวมๆ ของกลุ่มของสารเคมีชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด สารเคมีในกลุ่มนี้มีหลายชนิด.
สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
ปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอน ปฏิรูปวิธีสอบ
พันธุศาสตร์โมเลกุล การปรับปรุงพันธุ์ ลักษณะตามต้องการ
ยีนและโครโมโซม ครูจุมพล คำรอต
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
12 Nov 2014 Metabolism of Nucleotides
โครงสร้างของ DNA. ปี พ. ศ มัวริส เอช เอฟ วิลคินส์ (Maurice H. F
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานสารกำจัดวัชพืช Herbicide Tolerant Plant
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

725311 ชีวเคมี I (Biochemistry I) สอนโดย คณาจารย์สาขาวิชาชีวเคมี คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จำนวน 2 หน่วยกิต เนื้อหารายวิชา (Course Description) โครงสร้าง สมบัติ แหล่งกำเนิดและความสำคัญของคาร์โบไฮเดรต โปรตีน กรดนิวคลีอิก ลิพิด เอนไซม์ และสารประกอบอื่น ๆ ที่มีความสำคัญทางชีวเคมี รวมทั้งบทนำเกี่ยวกับเมแทบอลิซึมทั่วไป และเรื่องที่มีความสำคัญต่อชีวเคมี เช่น บัฟเฟอร์ และวิธีการศึกษาเกี่ยวกับสารทางชีวเคมี

นิสิต คณะเกษตร: พืชไร่นา-3 สัตวศาสตร์-2 เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร-3 พืชสวน-2 คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์: วิทยาศาสตร์ทั่วไป-3 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ-2 บัณฑิตวิทยาลัย นิสิตสาขาวิชาอื่นๆ ที่สนใจ

หัวข้อวิชา บทนำ เซลล์ น้ำและบัฟเฟอร์ คาร์โบไฮเดรต กรดอะมิโนและโปรตีน เอนไซม์และโคแฟกเตอร์ ลิพิด นิวคลีโอไทด์และกรดนิวคลิอิก บทนำเกี่ยวกับเมแทบอลิซึมและการสร้างพลังงานในสิ่งมีชีวิต

คณาจารย์ อ.พุทธพร ส่องศรี ห้องพัก SC4 ชั้น 2 และ SC2-313

ห้องเรียน วัน-เวลา ศร.2-301 ทุกวันจันทร์ เวลา 16.30-18.30 น.

แผนการสอน บทนำ เซลล์ น้ำ บัฟเฟอร์ 2 ชั่วโมง (อ.พุทธพร) คาร์โบไฮเดรต 4 ชั่วโมง (อ.พุทธพร) โปรตีน 6 ชั่วโมง (อ.ชัยวัฒน์) เอนไซม์ 4 ชั่วโมง (อ.ชัยวัฒน์) ลิพิด 4 ชั่วโมง (อ.วันเพ็ญ) กรดนิวคลีอิกและบทนำเมแทบอลิซึม 5 ชั่วโมง (อ.พุทธพร) การสร้างพลังงานในสิ่งมีชีวิต 3 ชั่วโมง (อ.พุทธพร)

โฮมเพจรายวิชา www.flas.ku.ac.th  สายวิชาวิทยาศาสตร์  ข้อมูลสารสนเทศ  สาขาวิชาชีวเคมี  725311 ชีวเคมี I

บทนำ ชีวเคมี คือ เคมีของสิ่งมีชีวิต การศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ของสารชีวโมเลกุล องค์ประกอบทางเคมีของสิ่งมีชีวิต กระบวนการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ของสารชีวโมเลกุล (metabolism) การควบคุมกระบวนการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ตลอดจนถึง molecular genetics

สารชีวโมเลกุล (biomolecule) สารชีวโมเลกุล คือ สารประกอบเคมีที่มีอยู่ภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ส่วนใหญ่เป็นสารอินทรีย์ ที่มีธาตุ C H O และ N เป็นองค์ประกอบหลัก บางชนิดมีโมเลกุลใหญ่มาก (macromolecule) เช่น โปรตีน กรดนิวคลีอิก

ลำดับชั้นในการจัดระบบโมเลกุลของเซลล์ สารตั้งต้นจากสิ่งแวดล้อม เช่น CO2 น้ำ แอมโมเนีย ไนโตรเจน สารตัวกลางจากเมแทบอลิซึม เช่น pyruvate citrate malate glyceraldehyde-3-phosphate หน่วยโครงสร้าง เช่น nucleotide กรดอะมิโน monosaccharide glycerol สาร macromolecule เช่น กรดนิวคลีอิก โปรตีน polysaccharide lipid

ลำดับชั้นในการจัดระบบโมเลกุลของเซลล์ (ต่อ) Macromolecule complex เช่น ไรโบโซม enzyme complex, microtubule Organelle เช่น นิวเคลียส mitochondria chloroplast Golgi body

ชนิดของเซลล์ Prokaryotic cell คือ เซลล์ของแบคทีเรีย ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส Eukaryotic cell เป็นเซลล์ของสิ่งมีชีวิตที่มีความสลับซับซ้อนมากขึ้น นิวเคลียสมีเยื่อหุ้มชัดเจน

ชนิดของเซลล์ Prokaryotic cell คือ เซลล์ของแบคทีเรีย ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส Eukaryotic cell เป็นเซลล์ของสิ่งมีชีวิตที่มีความสลับซับซ้อนมากขึ้น นิวเคลียสมีเยื่อหุ้มชัดเจน