การสั่งการออกกำลังกาย (EXERCISE PRESCRIPTION)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

หลักการออกกำลังกายและการเต้นแอโรบิก
สนามกีฬา.
การออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ 25/03/55.
ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
Global Recommendation for Physical Activity
การทดสอบก่อนการออกกำลังกาย (EXERCISE TESTING)
การออกกำลังกายผู้สูงอายุ(Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (EXERCISE FOR THE ELDERLY)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
ปวดหลังส่วนล่าง LOW BACK PAIN
การเจริญเติบโตของมนุษย์
ประโยชน์และโทษของการใช้งานคอมพิวเตอร์
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
(Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานสุขภาพ รายชื่อผู้จัดทำ ด.ญ. กนกภรณ์ คุ้มโนนคร้อ ม.1/5 เลขที่ 1
โครงการกินอยู่อย่างพอเพียง
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ป.1 เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
15 มาตรการรักษาสุขภาพ มีข้อแนะนำดีๆในเรื่องการรักษาสุขภาพ รับอากาศที่กำลังแปรปรวนกันสุดๆ ใครภูมิคุ้มกันไม่ดีอาจจะจอดได้ นี่คือ 15 มาตรการที่น่าสนใจ.
นักวิชาการสาธารณสุข 9 กรมอนามัย
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การออกกำลังข้อนิ้วมือ ( six pack exercise )
โรคเอสแอลอี.
การจัดระบบในร่างกาย.
การออกกำลังกายในคนอ้วน
ท่วงท่า อิริยาบถในชีวิตประจำวัน
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพและสมรรถภาพ
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ชุดเครื่องมือเดินเพื่อสุขภาพ
พัฒนารูปแบบการส่งเสริมการเคลื่อนไหวออกแรง/ ออกกำลังกายในสถานประกอบการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
AEROBIC DANCE แอโรบิกดานซ์ ? ผศ.สุกัญญา พานิชเจริญนาม.
การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย นนอ. ๑. ตรวจสอบ นนอ. ไม่ผ่านสถานีใด ๒
Myasthenia Gravis.
การออกกำลังกาย (EXERCISE).
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
นวัตกรรมเครื่องออกกำลังกายยุคใหม่
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
การบูรณาการกับกิจกรรมเชิงรุก
ความสามารถในการทรงตัวของผู้สูงอายุที่ออกกำลังกายและไม่ออกกำลังกาย
การฟื้นฟูผู้ป่วยอัมพาต
ข้อเสื่อม เรื่องของใคร
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การเจริญเติบโตของร่างกาย
นพ.ธีรวีร์ วีรวรรณ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ศูนย์ฯ 56 ทับเจริญ สำนักอนามัย
โรคเบาหวาน ภ.
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
การฝึกด้วยน้ำหนักสำหรับนักกีฬาระดับเยาวชน
กับการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
การบริหารการหายใจ เพื่อการคลายเครียด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสั่งการออกกำลังกาย (EXERCISE PRESCRIPTION) นางชวนพิศ เจริญพงศ์ 5414652465

วัตถุประสงค์สำคัญของการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ คือ เพิ่มความแข็งแรงหรือสมรรถภาพของระบบหัวใจและหายใจ (cardiorespiratory fitness) ยังมีการออกกำลังอีกหลายชนิดที่มีวัตถุประสงค์ต่างกันไป เช่น ออกกำลังเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ เพื่อเพิ่มความทนทานของกล้ามเนื้อ หรือการออกกำลังเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นของร่างกาย เป็นต้น  

Exercise Modality ชนิดหรือรูปแบบของการออกกำลังกายที่มุ่งหวังเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของระบบหัวใจและหายใจนั้น มีลักษณะสำคัญดังต่อไปนี้8 เป็นการออกกำลังที่เกี่ยวพันกับการใช้มวลกล้ามเนื้อทั้งหมดเป็นส่วนใหญ่ พยายามใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ๆ ให้มากที่สุด ใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กๆ ให้น้อยที่สุด เลือกการออกกำลังที่ใช้การหดตัวของกล้ามเนื้อแบบ dynamic มากที่สุด

Exercise Modality เลือกการออกกำลังที่ใช้การหดตัวของกล้ามเนื้อแบบ static ให้น้อยที่สุด ในการออกกำลัง ควรมีการหดตัวของกล้ามเนื้ออย่างเป็นจังหวะ มีช่วงกล้ามเนื้อคลายตัวสลับกับการหดตัวเป็นช่วงๆ ให้หัวใจทำงานน้อยที่สุดเท่าที่จำเป็น โดยที่ยังสามารถก่อให้เกิดประโยชน์หรือผลดีจากการออกกำลังกาย (training effect) จะออกกำลังมากหรือน้อย ให้ยึดถือเกณฑ์ความหนัก (intensity) ของการออกกำลังเป็นสำคัญ

. จากลักษณะการออกกำลังกายข้างต้น จะเห็นว่ารูปแบบหรือชนิดของการออกกำลังกายที่มีลักษณะดังกล่าว ได้แก่ การวิ่งเหยาะๆ, การเดิน, การว่ายน้ำ, การขี่จักรยาน, การเต้นรำ, การพายเรือ เป็นต้น การ เดินเป็นการออกกำลังที่ง่าย สะดวก และมีความคุ้นเคยดี จากรายงานการศึกษาในคนวัยกลางคนที่มีสุขภาพค่อนข้างดี และไม่เคยออกกำลังกายมาก่อน พบว่าการเดินสามารถเพิ่ม VO2max ได้มากอย่างชัดเจน4,11

ตัวกำหนดการทำงานของหัวใจที่สำคัญ คือ Heart rate (HR) และ Systolic pressure (SBP) จากการศึกษาพบว่า แรงดันเลือดซีสโตลิกจะเพิ่มขึ้น เมื่อมีการหดตัวของกล้ามเนื้ออย่างเป็นจังหวะและต่อเนื่องจากการออกกำลังกาย12 แต่จะเพิ่มขึ้นอย่างมากถ้าเป็นการออกกำลังที่มีการหดตัวชนิดเกร็งค้าง (static contraction) ของกล้ามเนื้อมัดเล็กๆ ดังนั้น จึงพบว่าการออกกำลังโดยการคลานนั้น หัวใจต้องทำงานมากกว่าการขี่จักรยานและมากกว่าการเดิน โดยสรุปขอแนะนำว่า การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุโดย ทั่วไป คือการเดิน8 ยกเว้นผู้สูงอายุที่มีสุขภาพค่อนข้างดีกว่าปกติ อาจเลือกการวิ่งเหยาะๆ ได้ เนื่องจากเป็นที่ชื่นชอบมากกว่าการเดิน อย่างไรก็ตามให้ระวังภาวะแทรกซ้อนที่อาจมีต่อการวิ่งเหยาะๆ เช่น ปวดระบมข้อหรือกล้ามเนื้อมัดต่างๆ เป็นต้น  

Exercise Duration ระยะเวลาในการออกกำลังกายแต่ละครั้ง อย่างน้อยที่สุดควรออกกำลังกายนาน 15 นาที13 จึงจะเพียงพอที่จะเกิดผลดีจากการออกกำลังกาย ถ้าจะให้ดีที่สุดควรใช้เวลาประมาณ 30 นาที14 แต่ในผู้ที่ไม่เคยออกกำลังกายมาก่อน อาจออกนาน 15 นาทีไม่ได้ ให้เริ่มจากน้อยไปมาก ถ้าทำนานเกินไป จะเพิ่มโอกาสเกิดการบาดเจ็บของระบบกล้ามเนื้อและกระดูก15ตัวอย่างเช่น ในโปรแกรมการเดินสลับวิ่งนาน 30 นาที อัตราการบาดเจ็บต่อระบบกล้ามเนื้อและกระดูกมีค่าร้อยละ 24 แต่ถ้าออกกำลังนาน 45 นาที จะพบอัตราการบาดเจ็บเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 54 เป็นต้น

Exercise Frequency . ความถี่ของการออกกำลังกาย จากการศึกษาพบว่าถ้าออกกำลังกาย 4 – 5 ครั้ง/สัปดาห์ จะทำให้ VO2max เพิ่มอย่างรวดเร็ว แต่ถ้าออกกำลังถี่กว่านี้ เช่น สัปดาห์ละ 5 – 6 ครั้ง จะพบการบาดเจ็บเพิ่มขึ้นอย่างมาก15 ดังนั้นความถี่ของการออกกำลังกายที่พอเหมาะ คือ 3 ครั้งต่อสัปดาห์ ซึ่งอาจเป็นวันจันทร์, อังคาร, พุธ หรือวันจันทร์, พุธ, ศุกร์ ก็ไม่มีความแตกต่างกัน

ThE END