หลักปฏิบัติที่ดีด้านการกำหนด การรับมาใช้ และการใช้มาตรฐาน Code of Good Practice for the Preparation, Adoption and Application of Standards Prepared by Information System Group, Standards Information Centre
Prepared by Information System Group, Standards Information Centre วัตถุประสงค์หลักของความตกลง TBT ก็คือ ประเทศต่างๆ จะต้องไม่นำกฎระเบียบทางวิชาการ มาตรฐาน และกระบวนการประเมิน เพื่อการรับรอง มาเป็นมาตรการเพื่อปกป้องหรือเป็นอุปสรรรคต่อการค้าโดยไม่จำเป็น และหากมีมาตรฐานระหว่างประเทศ หรือข้อกำหนดขององค์การระหว่างประเทศอยู่แล้ว ก็ควรนำมาใช้เป็นหลักในการกำหนด การรับมาใช้ และการใช้มาตรฐาน Prepared by Information System Group, Standards Information Centre
Prepared by Information System Group, Standards Information Centre สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ในฐานะสถาบันมาตรฐานแห่งชาติ จึงมีหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติตาม Article 4 (4.1 และ 4.2) และ Annex 3 Code of Good Practice for the Preparation, Adoption and Application of Standards ซึ่งมีสาระสำคัญสรุปได้ดังนี้ Article 4.1 ประเทศสมาชิกจะต้องมั่นใจว่าองค์กรมาตรฐานของรัฐบาลส่วนกลาง ให้การยอมรับและปฏิบัติตาม Code of Good Practice for the Preparation, Adoption and Application of Standards (หรืออาจเรียกโดยย่อว่า “Code of Good Practice”) Prepared by Information System Group, Standards Information Centre
Prepared by Information System Group, Standards Information Centre Article 4.2 องค์กรมาตรฐานซึ่งยอมรับและปฏิบัติตาม Code of Good Practice นี้แล้ว จะต้องได้รับการยอมรับจากประเทศสมาชิกอื่นว่าได้ปฏิบัติตามหลักการของความตกลง TBT แล้ว ประเทศไทยได้ประกาศยอมรับ Code of Good Practice แล้ว ตามเอกสาร G/TBT/2/Add.38 Prepared by Information System Group, Standards Information Centre
รายละเอียดเกี่ยวกับ Annex 3 ของความตกลง TBT Prepared by Information System Group, Standards Information Centre
Prepared by Information System Group, Standards Information Centre A.-C. องค์กรกำหนดมาตรฐานจะต้องแจ้ง (Notify) ให้ WTO ทราบ ว่าจะยอมรับ หรือ เพิกถอน จาก Code of Good Practice นี้ โดยส่งโดยตรงไปที่ ISO/IEC Information Centre ที่เจนีวา หรือผ่านสมาชิกของ ISO/IEC หรือสมาชิก ISONET ของ ประเทศนั้นๆ D. ไม่เลือกปฏิบัติกับผลิตภัณฑ์ (MFN และ NT) E. มาตรฐานต้องไม่ก่อให้เกิดอุปสรรคโดยไม่จำเป็นต่อการค้า F. ใช้มาตรฐานสากล (ถ้ามี)เป็นเกณฑ์ เว้นแต่ถ้าไม่เหมาะสม Prepared by Information System Group, Standards Information Centre
Prepared by Information System Group, Standards Information Centre H. ต้องหลีกเลี่ยงการทำงานซ้ำซ้อน และกำหนดมาตรฐาน โดยใช้หลัก Consensus I. กำหนดมาตรฐานในรูปของสมรรถนะ (Performance) ไม่ใช่ Design J. อย่างน้อยทุก 6 เดือน องค์กรมาตรฐานต้องจัดพิมพ์แผนการ กำหนดมาตรฐาน (Work Programme) Prepared by Information System Group, Standards Information Centre
Prepared by Information System Group, Standards Information Centre Work Programme ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลดังนี้ ชื่อและที่อยู่ขององค์กรมาตรฐาน (ร่าง) มาตรฐานซึ่งกำลังอยู่ในระหว่างการจัดทำ ชื่อร่างมาตรฐานเป็นภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส หรือ สเปน ข้อมูลเกี่ยวกับ (ร่าง) มาตรฐานแต่ละเรื่องใน Work programme จะต้องสอดคล้องกับกฎเกณฑ์ของ ISONET กล่าวคือ ประกอบด้วย การจัดจำแนกตาม Subject ขั้นตอน (stage) ของการจัดทำมาตรฐาน มาตรฐานระหว่างประเทศที่ใช้เป็นเอกสารอ้างอิง Prepared by Information System Group, Standards Information Centre
Prepared by Information System Group, Standards Information Centre K. ประเทศสมาชิกของ ISO/IEC จะต้องพยายามเข้าร่วมเป็น สมาชิกของ ISONET L. ก่อนการประกาศใช้มาตรฐาน ต้องจัดให้มีระยะเวลาอย่างน้อย 60 วัน ในการให้ข้อคิดเห็น ต้องประกาศแจ้งให้ทราบระยะเวลาให้ข้อคิดเห็นด้วย ต้องระบุด้วยว่าร่างมาตรฐานดังกล่าวแตกต่างจากมาตรฐาน ระหว่างประเทศอย่างไร M. ถ้าได้รับการร้องขอ ต้องจัดส่งร่างมาตรฐานที่อยู่ในระหว่าง เวียนขอข้อคิดเห็นให้ผู้ที่สนใจ N. ต้องนำข้อคิดเห็นมาพิจารณา Prepared by Information System Group, Standards Information Centre
Prepared by Information System Group, Standards Information Centre P. ถ้าได้รับการร้องขอ ต้องจัดส่ง Work Programme หรือ มาตรฐานให้ผู้ที่ร้องขอ Q. เมื่อได้รับการร้องขอจากองค์กรมาตรฐานซึ่งยอมรับ Code of Good Practice แล้ว เกี่ยวกับการปฏิบัติตาม Code นี้ องค์กรมาตรฐานใดๆ จะต้องให้การพิจารณา หรือเปิดโอกาส ให้มีการหารือ และจะต้องจัดการกับข้อร้องเรียนต่างๆ ที่อาจมีขึ้นด้วย Prepared by Information System Group, Standards Information Centre