โดย สุทธิพงษ์ กาญจนเกษร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปฏิบัติเกี่ยวกับการดำเนินการ จ้างแรงงานต่างด้าวกรณีพิเศษ (ขยาย ๑๒๐ วัน) (๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๕ - ๑๔ เมษายน ๒๕๕๖) ตามมติ คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๕ มกราคม.
Advertisements

จดหมายกิจธุระ.
งานบริหารงานบุคคล กองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี หน้า ๑
เรื่อง ระเบียบแก้ไขวันเดือนปีเกิด
กฎหมายมรดก.
สถานที่ที่กฎหมายอาญาใช้บังคับ
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
วิธีการยื่นเรื่อง ขอรับเงินคืน.
วิชา มรดก ครั้งที่ ๔ เมทินี ชโลธร.
วิชา มรดก โดย เมทินี ชโลธร.
ความรู้เรื่องการจับกุม ตาม ป.วิ อาญา
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน
ขัดคำสั่งผู้บังคับบัญชา
อุทธรณ์.
กฎ ก.พ.ค. ว่าด้วยการร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัย เรื่องร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ( แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ )
วิธีการทำสัญญากู้ยืมและสัญญาค้ำประกัน
วิชาว่าความและ การถามพยาน
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
การเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษ
การขัดกันแห่งกฎหมาย (Conflict of law)
ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการตั้งครรภ์แทน
หนังสือทางวิชาการ โดย อ.ว่าที่ร.ต.เศรษฐ์ อินสกุล
ข้อเสนอหัวข้อนิติศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ ม
กฎหมายลักษณะบุคคล.
รายละเอียดของรายวิชา
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการใช้ภาษาพัฒนาความคิด
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
คำสั่งทางปกครองเป็นหนังสือ
พระราชบัญญัติ ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕
การกู้ยืมเงิน.
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
งานสารบรรณ สุภิสสา วรรธนาคม กลุ่มบริหารทั่วไป สำนักบริหารกลาง
คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) กับการประนีประนอมข้อพิพาท
ทะเบียนครอบครัว โดย สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง
การจัดการ งานสารบรรณแนวใหม่
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
การจดรายงานการประชุม
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน กองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการ พลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข เกี่ยวกับการกำหนดและจ่าย ค่าทดแทน (
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง การแจ้ง การออกใบรับแจ้ง การขอต่ออายุและการต่ออายุใบรับแจ้งการดำเนินการวัตถุอันตรายชนิดที่ 2 ที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ.
กฎกระทรวง ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2555) ออกตามความในพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 20 เมษายน 2555.
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
การตรวจสอบหลักฐาน เพื่อเชื่อมโยงสิทธิ ระหว่างผู้มีสิทธิกับบุคคลในครอบครัว ในการจัดทำฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐตามโครงการจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาล
เอกสารอ้างอิง ที่ใช้ในการจัดทำฐานข้อมูล
พินัยกรรมแบบธรรมดา วันที่ 13 เมษายน 2552
กฎหมายมรดก การรับมรดกแทนที่.
บทที่ 1 บุคคล.
มาตราปี 56 อะไรเป็นมรดก ทายาทโดยธรรม (ผู้สืบสันดาน ,บิดามารดา) และส่วนแบ่ง การรับมรดกแทนที่ การกำจัด ,ตัด ,สละมรดก และผลต่อผู้สืบสันดาน แบบพินัยกรรม ,พยานในพินัยกรรม.
ขั้นตอนการประเมินลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
การเบิกจ่ายเงินรางวัล ประจำปีงบประมาณ 2555
การแสดงเจตนา ศ.ดร.กำชัย จงจักรพันธ์.
สิทธิตามกฎหมายของประชาชน สิทธิตาม กฎหมาย บทบัญญัติและผู้เกี่ยวข้อง 1. สิทธิได้รู้ (Right to Know) 1.1 สิทธิได้รู้ตามมาตรา 7 ( เรื่องที่ต้องให้รู้ ) มาตรา.
ผังงาน (FLOW CHART) ผังงาน (Flow Chart)เป็นรูปแบบของการจำลองความคิดแบบหนึ่ง รูปแบบของการจำลองความคิดเพื่อความสะดวกในการทำงาน แบ่ง เป็น ๒ แบบ คือ ๑) แบบข้อความ.
สวัสดีครับ วันนี้ผมจะมานำเสนอ เกมส์บุพบท
ทะเบียนราษฎร.
นิติกรรม และ สัญญา บทนำ สิทธิและหน้าที่ สิทธิ มีความหมาย 2 นัย
การประกาศ การประกาศ คือ การทำให้สาธารณชนทราบข่าวสารเรื่องเดียวกันอย่างแพร่หลาย โดยอาศัยสื่อสาธารณะชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ ป้ายประกาศสาธารณะ.
ทะเบียนราษฎร การเกิด.
มาตรา ๑๔๔๘ การสมรสจะทำได้ต่อเมื่อชาย และหญิง มีอายุสิบเจ็ดปีบริบูรณ์แล้ว แต่ในกรณีที่มีเหตุอันสมควร ศาลอาจอนุญาตให้ทำการ สมรสก่อนนั้นได้
มาตรา ๑๔๕๒ ชายหรือหญิงจะทำการสมรสในขณะที่ตนมีคู่ สมรสอยู่ไม่ได้
แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า ลาว กัมพูชาหลังวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๖
สวัสดิการการรักษาพยาบาล
ทะเบียนราษฎร.
รับรองการเกิด.
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ
16. การเขียนรายงานการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย สุทธิพงษ์ กาญจนเกษร การทำพินัยกรรม โดย สุทธิพงษ์ กาญจนเกษร

มรดก ปพพ. มาตรา ๑๕๙๙ เมื่อบุคคลใดตายมรดกของบุคคลนั้น ตกทอดแก่ทายาท ทายาทอาจเสียไปซึ่งสิทธิในมรดกได้ โดยบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่น

มาตรา ๑๖๐๓ กองมรดกย่อมตกแก่ทายาทโดยสิทธิตาม กฎหมายหรือโดยพินัยกรรม ทายาทที่มีสิทธิตามกฎหมาย“ทายาทโดยธรรม” ทายาทที่มีสิทธิตามพินัยกรรม“ผู้รับพินัยกรรม” มาตรา ๑๖๐๘ เจ้ามรดกจะตัดทายาทโดยธรรมของตนคนใด มิให้รับมรดกก็ได้ แต่ด้วยแสดงเจตนาชัดแจ้ง โดยพินัยกรรม

ทายาทโดยธรรม มีหกลำดับ  และ ภายใต้บังคับ แห่ง  มาตรา ๑๖๓๐ วรรค ๒ แต่ละลำดับ มีสิทธิได้รับมรดก ก่อนหลัง ดังต่อไปนี้ คือ                     (๑) ผู้สืบสันดาน                     (๒) บิดามารดา                     (๓) พี่น้อง ร่วมบิดามารดา เดียวกัน                     (๔) พี่น้อง ร่วมบิดา หรือ ร่วมมารดา เดียวกัน                     (๕) ปู่ ย่า ตา ยาย                     (๖) ลุง ป้า น้า อา             คู่สมรสที่ยังมีชีวิตอยู่นั้น ก็เป็น ทายาทโดยธรรม ภายใต้บังคับของ บทบัญญัติพิเศษแห่ง มาตรา ๑๖๓๕

ผู้สูงอายุกับการทำพินัยกรรม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ผู้สูงอายุกับการทำพินัยกรรม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

พินัยกรรม คือ การแสดงเจตนากำหนดการเผื่อตาย ที่จะยกทรัพย์สิน หรือ กิจการต่าง ๆ ซึ่งมีผลบังคับได้ตามกฎหมายของตน ให้ตกเป็นของบุคคลอื่น รวมถึงการให้บุคคลใดเข้ามาจัดการทรัพย์สินของตน เมื่อตนเองถึงแก่กรรม (ตาย) ไปแล้ว

พินัยกรรม มี ๕ แบบ ๑. พินัยกรรมแบบธรรมดา (ม. ๑๖๕๖) ๒ พินัยกรรม มี ๕ แบบ ๑. พินัยกรรมแบบธรรมดา (ม.๑๖๕๖) ๒. พินัยกรรมเขียนเองทั้งฉบับ (ม.๑๖๕๗) ๓. พินัยกรรมทำเป็นเอกสารฝ่ายเมือง (ม.๑๖๕๘) ๔. พินัยกรรมทำเป็นเอกสารลับ (ม.๑๖๖๐) ๕. พินัยกรรมทำด้วยวาจา (ม.๑๖๖๓)

๑. พินัยกรรมแบบธรรมดา ๑. ๑ เป็นหนังสือ เขียน/พิมพ์ ไทยหรือต่างประเทศ ๑ ๑. พินัยกรรมแบบธรรมดา ๑.๑ เป็นหนังสือ เขียน/พิมพ์ ไทยหรือต่างประเทศ ๑.๒ ลง วัน/เดือน/ปี ๑.๓ ลงลายมือชื่อ/พิมพ์ลายนิ้วมือ ไว้ต่อหน้าพยาน อย่างน้อย ๒ คน พยานลงลายมือชื่อได้อย่างเดียว ๑.๔ แก้ไข ขูด ลบ ตก เติม ให้ลงลายมือชื่อ/พิมพ์ ลายนิ้วมือ ต่อหน้าพยานสองคน พยานลงลายมือ ชื่อรับรอง

๒. พินัยกรรมเขียนเองทั้งฉบับ ๒. ๑ เขียนเอง ภาษาไทย/ต่างประเทศ ๒ ๒. พินัยกรรมเขียนเองทั้งฉบับ ๒.๑ เขียนเอง ภาษาไทย/ต่างประเทศ ๒.๒ ไม่ต้องมีพยาน ๒.๓ ลง วัน/เดือน/ปี และ ลายมือชื่อ ๒.๔ แก้ไข ขูด ลบ ตก เติม ลงลายมือชื่อกำกับ

๓. พินัยกรรมทำเป็นเอกสารฝ่ายเมือง ๓ ๓. พินัยกรรมทำเป็นเอกสารฝ่ายเมือง ๓.๑ ยื่นคำร้อง แจ้งข้อความต่อนายอำเภอ/ ผอ.เขต ต่อหน้าพยานอย่างน้อยสองคน ๓.๒ นายอำเภอ/ผอ.เขต จะจดและอ่านข้อความ ๓.๓ ข้อความถูกต้อง ลงลายมือชื่อ พร้อมพยาน ๓.๔ นายอำเภอ/ผอ.เขต ลงลายมือชื่อ วัน/เดือน/ปี ประทับตราตำแหน่ง

๔. พินัยกรรมทำแบบเอกสารลับ ๔ ๔. พินัยกรรมทำแบบเอกสารลับ ๔.๑ ข้อความเป็นพินัยกรรม ลงลายมือชื่อผู้ทำ ๔.๒ ผนึกพินัยกรรม ลงลายมือชื่อคาบรอยผนึก ๔.๓ นำพินัยกรรมที่ผนึก แสดงและให้ถ้อยคำต่อ นายอำเภอ/ผอ.เขต และพยานอย่างน้อย ๒ คน ๔.๔ นายอำเภอ/ผอ.เขต จดถ้อยคำ ลงวัน/เดือน/ปี ที่แสดง ประทับตราตำแหน่ง ลงลายมือชื่อ พร้อมด้วยพยานบนซอง

๕. พินัยกรรมทำด้วยวาจา ๕.๑ มีพฤติการณ์พิเศษ เช่น ตกอยู่ในอันตราย ใกล้ตาย ภาวะโรคระบาด/สงคราม ๕.๒ แสดงเจตนาต่อหน้าพยานอย่างน้อย ๒ คน ๕.๓ พยานทั้งหมดแสดงตน แจ้งข้อความ วัน/เดือน/ปี สถานที่ พฤติการณ์พิเศษต่อ นายอำเภอ/ผอ.เขต โดยไม่ชักช้า ๕.๔ นายอำเภอ/ผอ.เขต จดข้อความ และพยานทั้งหมด ลงลายมือชื่อ

ผู้ไม่มีสิทธิทำพินัยกรรม ๑. บุคคลอายุน้อยกว่า ๑๕ ปีบริบูรณ์ ๒ ผู้ไม่มีสิทธิทำพินัยกรรม ๑. บุคคลอายุน้อยกว่า ๑๕ ปีบริบูรณ์ ๒. บุคคลซึ่งศาลมีคำสั่งให้เป็นบุคคล ไร้ความสามารถ หากทำ ผลคือพินัยกรรมเป็นโมฆะ

ข้อพึงระวังในการทำพินัยกรรม ๑. ไตร่ตรองให้รอบคอบ ๒. ไม่จำเป็นต้องยกทรัพย์สินให้กับทายาทตามกฎหมาย ๓. ทายาทอื่น ขอแบ่งทรัพย์มรดกที่ทำพินัยกรรมยกให้ ผู้อื่นไปแล้วไม่ได้ พินัยกรรม คือ การแสดงเจตนาของเจ้ามรดก ที่กฎหมายยอมรับและบังคับให้

ไม่ควรเสี่ยงทำเอง ประการสำคัญในการพินัยกรรม เรื่องพินัยกรรมนั้นเป็นเรื่องของกฎหมาย ไม่ควรเสี่ยงทำเอง ควรจะไปอำเภอหรือเขต แสดงความประสงค์ทำพินัยกรรม ให้เจ้าหน้าที่ทำให้ เป็นวิธีปลอดภัยที่สุด

การเปลี่ยนแปลงหรือเพิกถอนพินัยกรรม ดำเนินการได้ตามวิธีการที่กฎหมายกำหนดไว้ และเป็นสิทธิของเราโดยตรง

ขอบคุณครับ