อุทธรณ์.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
Advertisements

เรื่อง ระเบียบแก้ไขวันเดือนปีเกิด
สถานที่ที่กฎหมายอาญาใช้บังคับ
สิทธิประโยชน์ เมื่อพ้นสมาชิกภาพ. สิทธิประโยชน์ เมื่อพ้นสมาชิกภาพ.
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน
ขัดคำสั่งผู้บังคับบัญชา
การดำเนินการทางวินัย ข้าราชการ
กฎ ก.พ.ค. ว่าด้วยการร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัย เรื่องร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ( แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ )
การดำเนินการจัดการเลือกตั้ง
วิชาว่าความและ การถามพยาน
โดย ผู้อำนวยการศูนย์บริการการศึกษา
ขั้นตอนการดำเนินงานเอกสาร
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542
ปัญหาเกี่ยวกับการสอบข้อเท็จจริง
เกี่ยวกับการเงินและการพัสดุ
การประชุมกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ทร. ครั้งที่ ๒/๒๕๕๒
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
การเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษ
การจ้างลูกจ้างชั่วคราว
การกำหนดประเด็นสอบสวน
หลักการ แนวคิด กระบวนการ เกี่ยวกับอุทธรณ์และร้องทุกข์
การตอบสนองความต้องการของผู้ปกครอง ในกรอบกติกา
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
คำสั่งทางปกครองเป็นหนังสือ
ประภาศ คงเอียด ผู้พิพากษาศาลภาษีอากรกลาง
วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวก(แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่)
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
The Comptroller General’s Department
สำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ ๒
วัน จันทร์ ที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
The Comptroller General’s Department
ตอนที่ 2 ตัวอย่างคำวินิจฉัยร้องทุกข์ ของ ก.พ.ค.
แนะนำศูนย์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
บันทึกเสนอผู้บังคับบัญชา บันทึกย่อเรื่อง
การตั้งเรื่องกล่าวหา
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการกระทำอันเป็นการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศ พ.ศ. ๒๕๕๓
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ.2542
1.อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่น
“ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวินัย” โดย พ. ต. ท
ของข้าราชการตำรวจ บก.อก.บช.ศ.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 คำสั่งกระทรวงอุตสาหกรรม ที่ 243/2556 เรื่อง แนวทางการ ปฏิบัติในการพิจารณาคำขอรวมทั้ง เอกสารที่เกี่ยวข้องตาม.
มีคำสั่งตั้งคณะกรรมการสืบสวนหรือให้สืบสวน
ตามกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
ความผิดฐาน ละทิ้งหน้าที่ราชการ.
การพิจารณาอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ สำหรับพนักงานส่วนท้องถิ่น
การให้ข้อเท็จจริงในคดีปกครอง
สภาพปัญหาการรักษาคุณธรรม จริยธรรมในภาครัฐ
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
การบริหารงานบุคคล สุรเกียรติ ฐิตะฐาน บทเรียนจากองค์กรวินิจฉัย
กลุ่ม ๓ (สีเขียว) วิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และ แนวทางในการพัฒนาพรรคการเมือง ได้เป็น” สถาบันทางการเมือง” ที่เข้มแข็ง.
สิทธิตามกฎหมายของประชาชน สิทธิตาม กฎหมาย บทบัญญัติและผู้เกี่ยวข้อง 1. สิทธิได้รู้ (Right to Know) 1.1 สิทธิได้รู้ตามมาตรา 7 ( เรื่องที่ต้องให้รู้ ) มาตรา.
ทะเบียนราษฎร นายทะเบียน.
วินัยและสิทธิประโยชน์ของ พนักงานราชการ
พระราชบัญญัติการกลับไปใช้สิทธิ พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญ
1. มาอย่างไร 2. ปัจจุบันใครเป็นบ้าง 3. อำนาจหน้าที่ได้มา อย่างไร 4. ผู้อื่นทำหน้าที่แทนได้ หรือไม่ 1. มาอย่างไร 2. ปัจจุบันใครเป็นบ้าง 3. อำนาจหน้าที่ได้มา.
ขั้นตอนการจัดการเรื่องร้องเรียน
การเปลี่ยนแปลงการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ในสถาบันอุดมศึกษา
การวางมาตรการ พิทักษ์ระบบคุณธรรม ตามพ. ร. บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือนพ
มาตรา ๑๔๕๒ ชายหรือหญิงจะทำการสมรสในขณะที่ตนมีคู่ สมรสอยู่ไม่ได้
พระราชบัญญัติการกลับไปใช้สิทธิ พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญ
รองศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ทะเบียนราษฎร.
สุทธิรัตน์ รัตนโชติ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
บ้านและทะเบียนบ้าน.
ข้อพิจารณา ในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อุทธรณ์

อุทธรณ์ การอุทธรณ์ หมายถึง การที่ผู้ถูกลงโทษทาง วินัยและถูกสั่งให้ออกจากราชการร้องขอให้ผู้ที่มี อำนาจหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนดไว้ได้ยกเรื่อง ขึ้นพิจารณาใหม่เพื่อให้เป็นไปในทางที่เป็นคุณ แก่ตนเอง

กรณีใดบ้างที่มีสิทธิอุทธรณ์ ผู้ที่จะใช้สิทธิอุทธรณ์ได้มี ๒ กรณี คือ ๑. กรณีที่ถูกสั่งลงโทษทางวินัย ๒. กรณีถูกสั่งให้ออกจากราชการ ตามมาตรา ๑๑๐

ผู้มีสิทธิยื่นอุทธรณ์ ๑. ผู้ที่ถูกสั่งลงโทษทางวินัย ๒. ผู้ที่ถูกสั่งให้ออกจากราชการตามมาตร ๑๑๐ ๓. ทายาทของผู้มีสิทธิได้รับบำเหน็จตกทอดตามข้อ ๑ และข้อ ๒ ในกรณีที่บุคคลดังกล่าวถึงแก่ความตาย ก่อนที่จะใช้สิทธิอุทธรณ์ ๔. ผู้ที่ได้รับมอบหมายจากบุคคลตามข้อ ๑ , ๒ และ ๓

หนังสืออุทธรณ์ต้องทำอย่างไร ๑. ต้องทำเป็นหนังสือ ๒. ชี้แจงข้อเท็จจริงหรือ ข้อกฎหมายที่ยกขึ้นเป็นข้อคัดค้าน ๓. คำขอของผู้อุทธรณ์ ๔. ลงลายมือชื่อผู้อุทธรณ์

กำหนดเวลาในการยื่นอุทธรณ์ ๓๐ วันนับแต่วันที่ทราบหรือถือว่า ทราบคำสั่ง (ม. ๑๒๑)

อุทธรณ์ต่อใคร ๑. คำสั่งปลดออกหรือไล่ออกจากราชการให้ยื่นต่อ ก.ค.ศ. ๑. คำสั่งปลดออกหรือไล่ออกจากราชการให้ยื่นต่อ ก.ค.ศ. ๒. คำสั่งลงโทษวินัยไม่ร้ายแรงของ เลขา สพฐ. หรือ คำสั่ง ของ ผู้บังคับบัญชาซึ่งตามมติ ของ อ.ก.ค.ศ. ให้อุทธรณ์ต่อ ก.ค.ศ. ๓. คำสั่งลงโทษวินัยไม่ร้ายแรงของ ผู้อำนวยการสำนักงานเขต พื้นที่หรือผู้อำนวยการสถานศึกษา ให้อุทธรณ์ต่อ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่

ผลการวินิจฉัยอุทธรณ์ กรณีอุทธรณ์คำสั่งลงโทษทางวินัย ๑. ถ้าเห็นว่าการลงโทษเหมาะสมกับ ความผิด ให้ยกอุทธรณ์ ๒. ถ้าเห็นว่าการลงโทษเหมาะสมกับความผิดสามารถ เพิ่มโทษหรือลดโทษได้ ๓. ถ้าเห็นว่าผู้อุทธรณ์ไม่ได้กระทำความผิด หรือการกระทำไม่เป็นความผิดให้ยกโทษ

ผลการวินิจฉัยอุทธรณ์ (ต่อ) ผลการวินิจฉัยอุทธรณ์ (ต่อ) ผลการวินิจฉัยของ อ.ก.ค.ศ. หรือ ก.ค.ศ. ถือเป็นที่สุดจะอุทธรณ์หรือ ร้องทุกข์ต่อไปไม่ได้ แต่ สามารถนำคดีไปฟ้องต่อ ศาลปกครองได้