การปกครองท้องถิ่นไทยในปัจจุบัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
Advertisements

ประชาธิปไตยและการเลือกตั้ง
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 13
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแผนที่วัฒนธรรมในเขตคูเมืองลำพูน
กฎ ก.พ. เรื่อง การจัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง (มาตรา 46)
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
เงินสวัสดิการเกี่ยวกับ การศึกษาของบุตร
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
เค้าโครง ภาค ๑ หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
Local Autonomy ความเป็นอิสระของท้องถิ่น Autonomy Auto-Nomas.
การบริหารจัดการท้องถิ่น
ที่ว่าการอำเภอปะนาเระ
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
พรบ./ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง การเบิกจ่ายเงินค่าบำรุง ส.ท.ท.
สรุปโครงสร้างของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์
กระบวนการมอบอำนาจในการตัดสินใจของกรมชลประทาน
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
การบริหารงานบุคคล กับคุณธรรมและจริยธรรม ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับแผนชุมชน
การบริหารจัดการชุมชนเข้มแข็งกับการเมืองท้องถิ่น
องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)
6.การตั้งงบประมาณรายจ่าย หมวดเงินอุดหนุน ให้หน่วยงานอื่น
ยินดีต้อนรับผู้เข้าสัมมนาทุกท่าน
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ความรู้พื้นฐาน กับกฎหมายสาธารณสุข กานต์ เจิมพวงผล
การแก้ปัญหากำลังคน การขาดแคลนตำแหน่งสำหรับบรรจุเป็นข้าราชการ เป็นปัญหาเรื้อรัง (ศึกษาร่วมกับ ก.พ. เพื่อหาแนวทางแก้ไข) ปี 2555 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขขอตำแหน่งเพื่อสำหรับบรรจุนักเรียนทุน.
1. ข้อมูลพื้นฐานของ 1) วิสัยทัศน์ 2) พันธกิจ 3) อำนาจหน้าที่
การจัดโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐ
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
ข้อกฎหมายที่น่ารู้สำหรับผู้บริหารส่วนภูมิภาค
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การปฐมนิเทศข้าราชการกรมประชาสัมพันธ์
การถ่ายโอนภารกิจด้านน้ำบาดาล ให้แก่ อปท.
การจัดตำแหน่งประเภท เจ้าหน้าที่บริหาร......
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
คณะอนุกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ระดับจังหวัด/อำเภอ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ร.บ.สภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ. 2553
ทิศทางร่างพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
องค์กรบริหารบุคลากรท้องถิ่น
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
3.การจัดทำงบประมาณ.
หัวข้อการบรรยาย รูปแบบและโครงสร้างของ อปท.
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
การบริหารราชการแผ่นดิน
บทบาทนายหมายเลข ๑ ผู้บังคับบัญชา ผู้บริหาร ผู้นำ ผู้ประสานงาน.
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
ทะเบียนราษฎร.
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
หลักการแบ่งแยกอำนาจ และสถาบันทางการเมือง
ประชาสัมพันธ์การรับลงทะเบียนผู้สูงอายุและผู้พิการ ประจำปีงบประมาณ 2555
แผนพัฒนาบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดระบบบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ พ.ศ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 25 กันยายน 2557.
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
ระเบียบการเบิกจ่ายงบประมาณ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี สตท.7 29 ม. ค.51. แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ  รายงาน ประจำเดือน  รายงานประจำปี  รายงานกรณี เร่งด่วน รายงานการตรวจสอบกิจการรายงานการตรวจสอบกิจการ.
โครงการอบรมสร้างเสริมประสบการณ์บุคลากร รพ. สต
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การปกครองท้องถิ่นไทยในปัจจุบัน โดย นายศักดิ์ เกียรติก้อง ประธานอนุกรรมการด้านติดตามและประเมินผลฯ การดำเนินการตามภารกิจของ ก.ถ.

1. ความสำคัญและความเป็นมา - พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ได้แบ่งการบริหาราชการแผ่นดินของไทย ออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้ (1) ระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง (สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม) (2) ระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค (จังหวัด อำเภอ) (3) ระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น (องค์การบริหารส่วนจังหวัด .เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา)

2. การปกครองท้องถิ่นไทย 2.1 ความหมาย หมายถึง การปกครองที่รัฐบาลมอบอำนาจให้ประชาชนในท้องถิ่นใด ท้องถิ่นหนึ่ง จัดการปกครองและดำเนินการบางอย่าง โดยดำเนินการกันเอง เพื่อบริการสถานะความต้องการของประชาชน การบริหารของท้องถิ่น มีการจัดเป็นองค์กร มีเจ้าหน้าที่ซึ่งประชาชนเลือกตั้งขึ้นมาทั้งหมด หรือบางส่วน ทั้งนี้ มีความเป็นอิสระในการบริหารงาน แต่รัฐบาลต้องควบคุมด้วยวิธีการต่างๆ ตามความเหมาะสม จะปราศจากควบคุมของรัฐหาได้ไม่ เพราะการปกครองท้องถิ่นเป็นสิ่งที่รัฐ ทำให้เกิดขึ้น

2.2 สาระสำคัญของหลักการปกครองท้องถิ่น (1) รูปแบบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหลายรูปแบบ จะแตกต่างกันไปตามความเจริญ จำนวนประชากร และขนาดพื้นที่ (2) ต้องมีอำนาจ (Autonomy) ในการปฏิบัติหน้าที่ตามความเหมาะสม (3) หน่วยการปกครองท้องถิ่น ต้องมีสิทธิตามกฎหมายที่จะดำเนินการปกครองตนเอง โดยสิทธิ แบ่งออกเป็น 2 ประการ คือ (3.1) สิทธิที่จะตรากฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (3.2) สิทธิในการกำหนดงบประมาณเพื่อบริหารกิจการตามอำนาจหน้าที่ที่มีอยู่ (4) มีองค์กรที่จำเป็นในการบริหารและปกครองตนเอง (5) ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการปกครองท้องถิ่น

2.3 องค์ประกอบของการปกครองส่วนท้องถิ่น 1. องค์กรปกครองเหล่านั้นต้องมรอาณาเขตที่แน่นอนชัดเจน (Area) 2. องค์กรปกครองเหล่านั้นต้องมีอำนาจอิสระ (Autonomy) 3. องค์กรปกครองเหล่านั้น ต้องมีสิทธิตามที่กฎหมายรับรอง 4. องค์กรปกครองเหล่านั้น ต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนในท้องถิ่น เข้ามามีส่วนร่วมในการปกครองทั้งโดยตรงและโดยอ้อม 5. องค์กรปกครองเหล่านั้น ต้องมีองค์กรที่แน่นอนชัดเจนในการบริหารจัดการงานของท้องถิ่น

3. รูปแบบองค์กรปกครองท้องถิ่นไทย ในปัจจุบันการปกครองท้องถิ่นไทย ประกอบไปด้วย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรวม 5 รูปแบบ ดังนี้ (1) องค์การบริหารส่วนจังหวัด (Provincial Administration Organization) (2) เทศบาล (Municipality) (3) องค์การบริหารส่วนตำบล (Sub district Administration Organization) (4) กรุงเทพมหานคร (Bangkok Metropolitan Administration) (5) เมืองพัทยา (Pataya City)

4. โครงสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปัจจุบันองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้กำหนดโครงสร้างออกเป็นรูปแบบสภากับฝ่ายบริหาร ได้แก่ (1) มีการแบ่งแยกฝ่ายสภาและฝ่ายบริหารออกจากกัน (2) ฝ่ายบริหาร ทำหน้าที่ในการบริหารกิจการภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (3) ฝ่ายสภา ทำหน้าที่ในการตรวจสอบการทำงานของฝ่ายบริหารและทำหน้าที่ในการออกกฎหมายในระดับท้องถิ่น (4) สภาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มาจากการเลือกตั้งของประชาชนโดยตรง (5) หัวหน้าฝ่ายบริหารมาจากการเลือกตั้งโดยตรง

5. กฎหมายที่สำคัญขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (1) องค์การบริหารส่วนจังหวัดใช้ พ.ร.บ.องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ.2540 (แก้ไขฉบับที่ 3 พ.ศ. 2546) (2) เทศบาลใช้ พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ.2496 (แก้ไข ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2546) (3) องค์การบริหารส่วนตำบลใช้ พ.ร.บ.สภาตำบล และองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 (แก้ไข ฉบับที่ 5 พ.ศ.2546) (4) กรุงเทพมหานคร ใช้ พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2528 (5) เมืองพัทยา ใช้ พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ.2542

6. ปัญหาของการปกครองท้องถิ่นไทย (1) ประชาชนขาดจิตสำนึกในการปกครองตนเอง (2) ประชาชนให้ความสนใจในการเลือกตั้งน้อย (3) ปัญหาด้านการคลัง (4) ระบบบริหารงานบุคคลไม่ทัดเทียมกับข้าราชการส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค (5) การมีส่วนร่วมของประชาชนในท้องถิ่นมีน้อย

7. จำนวนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1. องค์การบริหารส่วนจังหวัด จำนวน 75 แห่ง 2. เทศบาล จำนวน 1,276 แห่ง 3. องค์การบริหารส่วนตำบล จำนวน 6,500 แห่ง 4. การปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ จำนวน 7,853 แห่ง