แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตาม พ. ร. บ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
Advertisements

การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
โครงการฝึกอบรม การบริหารทรัพยากรบุคคล เชิงยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดอุดรธานี วันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมต้นคูณ อำเภอเมืองอุดรธานี
แนวทางเพื่อการปรับแบบ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กระบวนการบริหารผลการปฏิบัติงาน
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ชี้แจงการประเมินผลการปฏิบัติงาน
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่
ระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน Performance Management System: PMS และ หลักการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล Individual Development Plan : IDP.
สำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ ๒
หมวด2 9 คำถาม.
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
นางสาวพิมลพัชร์ อารมณ์รัตน์ รหัส
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การกำหนดความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การประเมินผลการปฏิบัติงานรายบุคคล
และคุณงามความดีของข้าราชการพลเรือนสามัญ
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แผนแม่บทการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
กองแผนงานละวิชาการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม-ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2557.
วัตถุประสงค์ของการประชุมครั้งนี้
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
3.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงาน เกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.) ก.พ.ร. กำหนดให้ ทุกส่วนราชการต้องจัดทำรายงานพร้อมเอกสาร หลักฐานประกอบ ส่ง ภายในวันที่ 31 ตุลาคม.
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
“สมุดบันทึกผลงานและ คุณงามความดีของข้าราชการ”
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ และการเลื่อนเงินเดือนระบบใหม่ เริ่มใช้ในการเลื่อนเงินเดือน 1 เมษายน 2553 งานการเจ้าหน้าที่ สสจ.กำแพงเพชร.
แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน คะแนนตามระดับค่าเป้าหมาย
แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน คะแนนตามระดับค่าเป้าหมาย
คำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ระบบติดตามผลการปฏิบัติราชการสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
สำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๑๒/ว ๒๐ ถนนพิษณุโลก กทม. ๑๐๓๐๐ ๓ กันยายน ๒๕๕๒
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
‘การบริหารผล’ การปฏิบัติราชการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตาม พ. ร. บ แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตาม พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 ในระบบใหม่ (1 ตุลาคม 2553)

วงจรการบริหารผลการปฏิบัติงาน วางแผน (Plan) ให้รางวัล (Reward) ติดตาม (Monitor) ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ ประเมิน (Appraise) พัฒนา (Develop)

ทำความเข้าใจกับการบริหารผลการปฏิบัติงาน 1. ระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน เป็นเครื่องมือของผู้บริหารในการกำหนดเป้าหมายการปฏิบัติงาน ผลักดันผลการปฏิบัติงาน และให้รางวัลเพื่อสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน การประเมินจะต้องพิจารณาจากอย่างน้อย 2 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ (1) ผลสัมฤทธิ์ของงานและ (2) สมรรถนะ โดยให้น้ำหนักผลสัมฤทธิ์ของงานอย่างน้อยร้อยละ 70 การประเมินองค์ประกอบสมรรถนะ จะประกอบด้วยการประเมินสมรรถนะหลักที่สำนักงาน ก.พ. ประกาศ จำนวน 5 ตัว การเลื่อนเงินเดือน ให้พิจารณาจากผลการประเมิน โดยผู้รับการเลื่อนเงินเดือนต้องมีคะแนนการประเมินไม่ต่ำกว่า 60 คะแนน ฯลฯ

การบริหารผลการปฏิบัติราชการตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ. 2. แบบฟอร์มฯที่ใช้ จะบังคับเฉพาะ แบบฟอร์มสรุปผลการปฏิบัติราชการ จำนวน 3 แผ่น (ดังแสดงข้างล่าง) โดยแบบฟอร์มการประเมินผลสัมฤทธิ์ และการประเมินสมรรถนะเป็นเอกสารแนบที่ส่วนราชการปรับเปลี่ยนได้ หน้าที่ ๑ หน้าที่ ๒ หน้าที่ ๓

การบริหารผลการปฏิบัติราชการตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ. 3. วิธีการประเมินมีด้วยกันหลายวิธี ซึ่งผู้ประเมินสามารถเลือกใช้ได้ ตามความเหมาะสม และอาจใช้วิธีอื่นนอกเหนือจากนี้ได้  การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานด้วยตัวชี้วัดจากการ ถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงานจากบนลงล่าง (Goal Cascading Method)  การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานด้วยตัวชี้วัดจาการสอบถาม ความคาดหวังของผู้รับบริการ (Customer-Focused Method)  การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานด้วยตัวชี้วัดจากการไล่เรียง ตามผังการเคลื่อนของงาน (Work Flow Charting Method)  การประเมินสมรรถนะด้วยแนวทาง 360 องศา การประเมินสมรรถนะด้วยวิธีการสังเกตจากพฤติกรรมการแสดงออกที่เห็นเด่นชัด (Critical Incident Technique)  เป็นต้น

4. การกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย เพื่อการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานอาจปรับเปลี่ยนได้ เมื่องานที่ได้รับมอบหมายเปลี่ยนแปลงไปจากต้นรอบการประเมิน ทั้งนี้ผู้ประเมิน และผู้ถูกประเมิน ควรพิจารณาคัดกรองตัวชี้วัด เพื่อให้ได้จำนวนตัวชี้วัดที่เหมาะสม การสอบถามความคาดหวังของผู้รับบริการ (Customer-Focused Method) การถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงานจากบนลงล่าง (Goal Cascading Method) การไล่เรียงตามผังการเคลื่อนของงาน (Work Flow Charting Method) คัดกรอง ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของผู้รับการประเมิน ณ ต้นรอบการประเมิน เปลี่ยนแปลงได้ ในช่วงระหว่างรอบ การประเมิน ตัวชี้วัดและเป้าหมายที่ใช้ในการประเมิน ณ ปลายรอบการประเมิน

5. รอบการประเมินกำหนดให้ปีละ 2 ครั้ง - ครั้งที่ 1 (1 ตุลาคม – 31 มีนาคมของปีถัดไป) - ครั้งที่ 2 (1 เมษายน – 30 กันยายนของปีถัดไป) 6. การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ ให้พิจารณาจากสมรรถนะหลัก 5 ตัวของสำนักงาน ก.พ. ดังนี้ 1) การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 2) บริการที่ดี 3) การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ 4) จริยธรรม 5) ความร่วมแรงร่วมใจ และสมรรถนะอื่นๆ เพิ่มเติมที่ส่วนราชการกำหนด และสามารถกำหนดมาตรวัดในการประเมินได้ด้วยตนเอง

7. ผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชาตกลงเป้าหมายผลการปฏิบัติราชการร่วมกัน(ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย) ตั้งแต่ต้นรอบการประเมิน ทั้งนี้ ข้อตกลงดังกล่าวอาจปรับเปลี่ยนระหว่างรอบการประเมินได้ หากงานที่ได้รับมอบหมายเปลี่ยนแปลงไป 8. ในระหว่างรอบการประเมิน ผู้บังคับบัญชาต้องติดตามผลการปฏิบัติราชการเป็นระยะ พร้อมทั้งให้คำปรึกษาแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาในประเด็นต่างๆ เช่น การแก้ปัญหาที่พบในการทำงาน การปรับปรุงตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายตามสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป เป็นต้น 9. ผู้บังคับบัญชา(ผู้ประเมิน) ต้องแจ้งผลการประเมินด้วยตนเอง พร้อมทั้งร่วมกันวางแผนการปฏิบัติราชการในรอบการประเมินถัดไป