การวิจัยเชิงทดลอง สมพงษ์ พันธุรัตน์.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

Dr.Smira Chittaladakorn
esearch and Development
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การศึกษาทางชีววิทยา Umaporn.
กระบวนการวิจัย(Research Process)
อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การวิจัย RESEARCH.
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
นายเกียงไกร แปลงไทยสง
สถิติและวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
การศึกษาชีววิทยา หน้าถัดไป.
บทที่ 1 ทักษะกระบวนการ และโครงงานทางวิทยาศาสตร์
Experimental Research
รูปแบบการวิจัย Research Design
การวางแผนและการดำเนินงาน
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY : ตัวแปรการวิจัย.
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
การจัดกระทำข้อมูล.
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
1. ตัวแปรต้น 2. ตัวแปรตาม 3. ตัวแปรควบคุม การกำหนดและควบคุมตัวแปร.
แบบแผนการวิจัย เชิงทดลอง
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
วิธีวิทยาการวิจัยของงานวิจัยในโรงพยาบาล
สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Extension Dept. 1 กระบวนวิชา การประเมินผลโครงการ ส่งเสริมการเกษตร ( Assessment and Evaluation of Extension Program in Agriculture.
Quality of Research ทำวิจัย อย่างไรให้มีคุณภาพ
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
มาตรฐานการให้รางวัลผลงานด้านการวิจัยและพัฒนาระบบพฤติกรรมไทย
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
3 แบบทดสอบก่อนเรียน 1. โครงงานวิทยาศาสตร์มีกี่ประเภท 1. 3 ประเภท 2. 4 ประเภท 3. 5 ประเภท 4. 6 ประเภท 2. ข้อใดไม่ใช่ประเภทของโครงงาน 1. โครงงานประเภททดลอง.
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
มศว 142 วิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ระดับของการศึกษาตัวแปร
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐาน ทางการจัดการโลจิสติกส์
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบริหารและพัฒนาอุตสาหกรรม
EXPERIMENTAL RESEARCH NON-EXPERIMENTAL RESEARCH
นางสาวพิชญาภา อิ่มประไพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ (MBAC)
นางสาวมัทนา เครือแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ครูโรงเรียนเมืองชลพณิชยการ จ. ชลบุรี
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม
ชื่อผู้วิจัย :: นางสาวสุทธิดา โชติญาณพงษ์
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
การวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียน
บทที่ 5 การออกแบบการวิจัย
การออกแบบ การวิจัย.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research)
ผู้วิจัย : สุภาพร อภิพันธุ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิจัยเชิงทดลอง สมพงษ์ พันธุรัตน์

การวิจัยเชิงทดลอง เป็นการศึกษาเกี่ยวกับปรากฏการณ์ ที่จะเกิดขึ้น เมื่อผู้วิจัย ทำการวิจัย หรือทดลอง โดยการควบคุมตัวแปรหรือสภาพการณ์ต่างๆ เป็นอย่างดี เป็นการศึกษาเพื่อที่จะลงสรุปผลการทดลอง เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าหรือตัวแปรต้นที่ผู้วิจัยดำเนินการ กับผลที่ได้จากการทดลอง หรือตัวแปรตาม ในเชิงเหตุผล

ขั้นตอนการวิจัยเชิงทดลอง สำรวจปัญหา ตั้งชื่อเรื่องปัญหา และคำถามในการวิจัย ตั้งสมมติฐาน ให้คำนิยามปฏิบัติการ วางแผนการทดลอง

การวางแผนการทดลอง กำหนดและควบคุมตัวแปรที่ไม่ได้ใช้ในการทดลอง เลือกรูปแบบการทดลอง เลือกกลุ่มตัวอย่าง สร้างหรือเลือกเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล เขียนสมมติฐานและสถิติที่ใช้การทดสอบ ดำเนินการทดลอง เก็บรวบรวมข้อมูล ทดสอบนัยสำคัญ และแปลผล

ตัวแปรในการวิจัยเชิงทดลอง ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ (independent variable) ตัวแปรตามหรือตัวแปรที่ไม่อิสระ (dependent variable) ตัวแปรที่เป็นตัวกลาง (moderator variable) ตัวแปรควบคุม (control variable) ตัวแปรแทรกแซง (intervening variable) ตัวแปรที่อยู่นอกแวดวงการทดลอง (extraneous variable) ตัวแปรที่เป็นคุณลักษณะ (attribute variable)

การคัดเลือกและจัดกลุ่มตัวอย่าง หลักการ คือ ให้แต่ละกลุ่มมีความเสมอภาค หรือเท่าเทียมกัน ก่อนทำการทดลอง การจัดคู่ผู้ที่ถูกทดลอง (matching case) การจัดให้กลุ่มผู้ที่ถูกทดลองสมดุลย์กัน (balancing case) การคัดเลือกแบบสุ่ม (randomization)

สัญลักษณ์ที่ใช้ในรูปแบบการวิจัย X = การให้การทดลองหรือสิ่งเร้า หรือตัวแปรต้น แก่กลุ่มทดลอง ช่องว่าง = การควบคุมหรือกลุ่มควบคุม ไม่มีการให้การทดลอง O = การสังเกต หรือการวัดผลที่ได้จากการทดลอง R = การเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการแบบสุ่ม - - - = กลุ่มที่ใช้ในการทดลอง เป็นกลุ่มที่ผู้วิจัยคัดเลือกมาเป็นกลุ่ม C = กลุ่มที่ใช้เป็นกลุ่มเกณฑ์

รูปแบบการศึกษาปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นแล้ว EX POST FACTO DESIGNS รูปแบบการศึกษาความสัมพันธ์ O1 O2 O1 O2 . . . On รูปแบบที่อาศัยกลุ่มที่เป็นเกณฑ์ C O1 O2 C O1 หรือ - - - - - - - - - - - - O2

รูปแบบที่ยังไม่เข้าขั้นการทดลอง PRE-EXPERIMENTAL DESIGNS การศึกษาเฉพาะกรณีโดยให้การทดลองหนึ่งครั้ง (One-shot case study) X O รูปแบบกลุ่มที่มีการทดสอบก่อนและทดสอบหลังการทดลอง (One group pretest-postest design) O1 X O2 การเปรียบเทียบกลุ่มตัวอย่างที่เลือกมาแบบเป็นกลุ่ม (Intact-group comparison) X O1 - - - - - - - - - O2

รูปแบบกึ่งการทดลอง QUASI-EXPERIMENTAL DESIGN รูปแบบอนุกรมช่วงเวลา (Time-series design) O1 O2 O3 O4 X O5 O6 O7 O8 รูปแบบที่มีกลุ่มควบคุมที่ไม่เสมอภาค (Nonequivalent control group design) O1 X O2 - - - - - - - - O3 O4

รูปแบบการทดลองที่แท้จริง TRUE EXPERIMENTAL DESIGNS รูปแบบที่มีกลุ่มควบคุมและทำการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง (pretest-postest control group design) R O1 X O2 R O3 O4

รูปแบบการทดลองที่แท้จริง TRUE EXPERIMENTAL DESIGNS รูปแบบสี่กลุ่มแบบโซโลมอน The Solomon four-group design R O1 X O2 R O3 O4 R X O5 R O6

รูปแบบการทดลองที่แท้จริง TRUE EXPERIMENTAL DESIGNS รูปแบบที่มีกลุ่มควบคุมและทำการทดสอบหลังการทดลองเท่านั้น posttest-only control group design R X O1 R O2

ความตรงของการวิจัย ความตรงภายใน ความตรงภายนอก การจัดกระทำต่อตัวอย่างหรือตัวแปรต้นนั้นมีผลกระทบต่อสิ่งที่ต้องการศึกษาหรือตัวแปรตามอย่างแท้จริง ความตรงภายนอก ความเป็นตัวแทนของผลการวิจัยและการที่ผู้วิจัยสามารถจะลงสรุปความ (generalize) เกี่ยวกับผลการวิจัย ไปยังกลุ่มประชากร หรือสภาพการณ์อื่นๆ

องค์ประกอบที่ส่งผลต่อความตรงภายในของการวิจัย ความเป็นอยู่หรือประวัติ (history) วุฒิภาวะ (maturation) ผลจากการทดสอบ (testing effect) เครื่องมือที่ใช้ (instrumentation) ความลำเอียงในการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง (selection bias) การถดถอยทางสถิติ (statistical regression) การสูญเสียบุคคลในกลุ่มตัวอย่าง (experimental martality) ปฏิกิริยาร่วมระหว่างองค์ประกอบต่างๆ (interactive combinations)

องค์ประกอบที่ส่งผลต่อความตรงภายนอกของการวิจัย ผลกระทบของการตอบสนองที่มีต่อการจัดการทดลอง ผลกระทบของปฏิกิริยาร่วมระหว่างความลำเอียงในการคัดเลือกตัวอย่างและตัวแปรในการทดลอง ผลกระทบของการตอบสนองที่มีต่อการทดสอบในการทดลอง ผลกระทบที่เกิดจากการแทรกแซงของการทดลองหลายครั้ง