สถานการณ์โรคไตเรื้อรัง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สถานการณ์โรคไตเรื้อรัง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พญ.ธิติยา พัววิไล 27-09-11
โรคไตเรื้อรัง ลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งใน สองข้อต่อไปนี้ ผู้ป่วยที่มีภาวะไตผิดปกตินานติดต่อกันเกิน 3 เดือน ทั้งนี้ผู้ป่วย อาจจะมีอัตรากรองของไต (glomerular filtration rate, GFR) ผิดปกติหรือไม่ก็ได้ ผู้ป่วยที่มี GFR < 60 mL/min/1.73m2 ติดต่อกันเกิน 3 เดือน โดยที่อาจจะตรวจ พบหรือไม่พบว่ามีร่องรอยของไตผิดปกติก็ได้
ภาวะไตผิดปกติ มีลักษณะตามข้อใดข้อหนึ่งดังต่อไปนี้ 1.1 ตรวจพบความผิดปกติจากการตรวจปัสสาวะอย่างน้อย 2 ครั้ง ในระยะเวลา 3 เดือน ดังต่อไปนี้ 1.1.1 ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ เป็นโรคเบาหวาน และตรวจพบ microalbuminuria ไม่เป็นโรคเบาหวาน และตรวจ พบ proteinuria > 500 mgต่อวัน หรือ > 500 mg/g creatinine 1.1.2 ตรวจพบเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะ (hematuria) 1.2 ตรวจพบความผิดปกติทางรังสีวิทยา 1.3 ตรวจพบความผิดปกติทางโครงสร้างหรือพยาธิสภาพ
การแบ่งระยะของโรคไตเรื้อรัง คำจำกัดความ GFR ( ml/min/1.73m2) 1 ไตผิดปกกติ และ GFR ปกติหรือเพิ่มขึ้น ≥ 90 2 ไตผิดปกกติ และ GFR ลดลงเล็กน้อย 60-89 3 GFR ลดลงปานกลาง 30-59 4 GFR ลดลงมาก 15-29 5 ไตวายระยะสุดท้าย < 15 (หรือได้รับการบำบัดทดแทนไต)
ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเป็นโรคไตเรื้อรัง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคแพ้ภูมิตนเอง (autoimmune diseases) ที่อาจก่อให้เกิดไตผิดปกติ โรคติดเชื้อในระบบ (systemic infection) ที่อาจก่อให้เกิดโรคไต โรคหัวใจและหลอดเลือด (cardiovascular disease) โรคติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะซ้ำ หลายครั้ง ได้รับสารพิษหรือยาที่ทำลายไต อายุ > 60 ปี มีมวลเนื้อไตลดลง ทั้งที่เป็นมาแต่ กำเนิดหรือเป็นภายหลัง มีประวัติโรคไตเรื้อรังในครอบครัว ตรวจพบนิ่วในไต
ข้อมูลผู้ป่วยจังหวัดพระนครศรีอยุธยา Hypertension ( ความดันโลหิตสูง ) 11,433 ราย DM ( เบาหวาน ) 5,774 ราย CKD ( โรคไตเรื้อรัง ) 660 ราย ESRD ( ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ) 569 ราย
แผนภูมิแสดงจำนวนผู้ป่วยในที่วินิจฉัยโรคไตเรื้อรัง และเบาหวานร่วมกับโรคไตเรื้อรัง ของรพ.พระนครศรีอยุธยา ระหว่าง 1 ก.พ.2551 - 31ม.ค.2552
แผนภูมิแสดงจำนวนผู้ป่วยนอกที่วินิจฉัยโรคไตเรื้อรัง และเบาหวานร่วมกับโรคไตเรื้อรัง ของรพ.พระนครศรีอยุธยา ระหว่าง 1 ก.พ.2551 - 31ม.ค.2552
แผนภูมิแสดงจำนวนผู้ป่วยในที่วินิจฉัยไตวายระยะสุดท้ายและเบาหวานร่วมกับไตวายระยะสุดท้าย ของรพ.พระนครศรีอยุธยา ระหว่าง 1 ก.พ.2551 - 31ม.ค.2552
แผนภูมิแสดงจำนวนผู้ป่วยนอกที่วินิจฉัยไตวายระยะสุดท้ายและเบาหวานร่วมกับไตวายระยะสุดท้าย ของรพ.พระนครศรีอยุธยา ระหว่าง 1 ก.พ.2551 - 31ม.ค.2552
แผนการดำเนินงานคลินิคโรคไต CKD prevention HD CAPD KT Palliative ESRD
คลินิคโรคไตเรื้อรัง ( CKD Clinic ) เริ่มดำเนินการตั้งแต่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 สถานที่ตรวจ : ห้องตรวจผู้ป่วยนอก เบอร์ 2 อาคารเฉลิมพระเกียรติ เวลาทำการ : วันพฤหัสบดี เวลา 08.30 – 12.30 น. บุคลากร : สหสาขาวิชาชีพ อายุรแพทย์โรคไต พยาบาล โภชนากร เภสัชกร ผู้ช่วยเหลือผู้ป่วย
แผนภูมิแสดงจำนวนผู้ป่วย CKD Clinic ของร.พ.พระนครศรีอยุธยา
การบำบัดทดแทนไตของร.พ.พระนครศรีอยุธยา การปลูกถ่ายไต ( KT) การฟอกไตทางเส้นเลือด ( Hemodialysis ) การฟอกไตทางช่องท้องชนิดถาวร ( CAPD )
การบำบัดทดแทนไต
การฟอกไตทางเส้นเลือด (Hemodialysis) จำนวนผู้ป่วย 310 ราย สิทธิการรักษา ประกันสังคม 75 ราย เบิกได้ 126 ราย สปสช. 109 ราย
การล้างไตทางช่องท้องชนิดถาวร ( CAPD ) เริ่มดำเนินการตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2550 จำนวนผู้ป่วย 205 คน คงอยู่ในระบบ 139 คน
CAPD Clinic สถานที่ตรวจ : ห้องตรวจผู้ป่วยนอก เบอร์ 2 อาคารเฉลิมพระเกียรติ เวลาทำการ : วันพฤหัสบดีเวลา 08.30 – 12.30 น. บุคลากร 1.อายุรแพทย์โรคไต 2.พยาบาลเฉพาะทาง CAPD 3.โภชนากร 4.เภสัชกร 5.ผู้ช่วยเหลือผู้ป่วย
แผนภูมิแสดงจำนวนผู้ป่วย CAPD แยกตามเพศและอายุ
แผนภูมิแสดงจำนวนผู้ป่วย CAPD จำแนกตามเพศและภาวะเบาหวาน
Transfer to HD mode ก่อนทำ CAPD หลังทำ CAPD
Shift mode ก่อนทำ PD : 51 ราย ( 10.2 %)
Shift mode หลังทำ CAPD : 18 ราย ( 9.9 %)
การปลูกถ่ายไต (Kidney Transplantation) Recipient (ผู้รับบริจาค) Donor (ผู้บริจาค) มีชีวิต LRKT สมองตาย CDKT รวม 19 ราย
Thank you