กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมดุลเคมี.
Advertisements

การเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
Coulomb’s Law and Electric Field Intensity
Energy and Potential วัตถุประสงค์ ทราบค่าคำจำกัดความ “งาน” ในระบบประจุ
(Impulse and Impulsive force)
กฎอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงเส้น (Law of Conservation of Linear Momentum)
จุดประสงค์ปลายทาง เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษา ความรู้ในทาง วิทยาศาสตร์ว่ามีความสามารถเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมี หลักฐานและข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้เท่านั้น.
การวิเคราะห์ความเร็ว
การวิเคราะห์ความเร่ง
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
ทบทวน 1กลศาสตร์ Newton 1.1 Introduction “ระยะทาง” และ “เวลา”
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
กลไกราคากับผู้บริโภค
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves)
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
ว ความหนืด (Viscosity)
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
ระบบอนุภาค.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรง (Forces)
Introduction to Statics
Frictions WUTTIKRAI CHAIPANHA Department of Engineering Management
Equilibrium of a Particle
แรงลอยตัวและหลักของอาร์คีมิดีส
Chapter 3 Equilibrium of a Particle
52. ยิงลูกปืนออกไปในแนวระดับ ทำให้ลูกปืนเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ตอนที่ลูกปืน กำลังจะกระทบพื้น ข้อใดถูกต้องที่สุด (ไม่ต้องคิดแรงต้านอากาศ) 1. ความเร็วในแนวระดับเป็นศูนย์
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
ผลของแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
งานและพลังงาน อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน แรงและ แรง กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 1 ของนิวตัน

แรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน แรง คือความพยายามหรือการกระทำต่อวัตถุ ที่จะทำให้วัตถุนั้นเกิด การเปลี่ยนแปลง แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ ดั้งนั้นการรวมแรงจึงต้อง รวมแบบเวกเตอร์ ผลของแรงจะทำให้ 1. วัตถุนั้นยังคงสภาพเดิม 2. วัตถุเปลี่ยนสภาพไปจากเดิม 3. เกิดปฏิกิริยา เซอร์ไอแซคนิวตัน นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ นิวตันติดใจ ในปริศนาที่ว่า แรงอะไรที่ทำให้ผลแอปเปิลตกสู่พื้นดิน และตรึง ดวงจันทร์ไว้กับโลก ซึ่งนำไปสู่การค้นพบกฎการเคลื่อนที่สำคัญ 3 ข้อ http://www.pt.ac.th/ptweb/prajead/force/newton/newton1.html

กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 1 ของนิวตัน “ วัตถุใดๆ ถ้าเดิมอยู่ในสภาวะหยุดนิ่ง หรือเคลื่อนที่ไปตามแนวเส้นตรง ด้วยความเร็วสม่ำเสมอ วัตถุนั้นๆ จะยังคงอยู่ในสภาวะหยุดนิ่ง หรือเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงด้วยความเร็วสม่ำเสมอนั้นตลอดไป ถ้าไม่มีแรงภายนอกมากระทำ” กฎข้อ 1 ของนิวตันเป็นกฎแห่งความสมดุลของวัตถุ เป็นกฎที่สืบเนื่องมาจากความเฉื่อยของวัตถุโดยตรง บางครั้งจึงเรียกว่า “กฎแห่งความเฉื่อย” ซึ่งกฎข้อที่ 1 ยังรวมถึงแรงหลายแรงที่มากระทำกับวัตถุ แต่ผลรวมของแรงหรือแรงลัพธ์เป็นศูนย์ http://www.pt.ac.th/ptweb/prajead/force/newton/newton1.html

กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 2 ของนิวตัน กล่าวว่า “ อัตราความเร่งของวัตถุใดๆ จะแปรผันโดยตรงกับแรงลัพธ์ที่ไม่เป็นศูนย์ ที่กระทำต่อวัตถุนั้น และแปรผกผันกับมวลของวัตถุ โดยมีทิศทางการเคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกันกับแรงลัพธ์ที่มากระทำกับวัตถุนั้น” เขียนสมการได้ว่า หรือ เมื่อ F เป็นขนาดของแรงลัพธ์ที่ไม่เป็นศูนย์มากระทำต่อวัตถุมวล m ให้มีอัตราเร่ง a

กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 3 ของนิวตัน กล่าวว่า “ เมื่อมีแรงมากระทำกับวัตถุ จะเกิดแรงปฏิกิริยาต้านด้วยขนาดของแรงที่เท่ากัน แต่มีทิศทางตรงกันข้ามกับแนวแรงนั้น” เมื่อ F เป็นขนาดของแรงลัพธ์ที่ไม่เป็นศูนย์ มากระทำต่อวัตถุมวล m ให้มีอัตราเร่ง a http://www.pt.ac.th/ptweb/prajead/force/newton/law3.htm