คำพ้อง คำที่เขียนรูปหรือออกเสียงตรงกัน แต่ความหมายต่างกัน  คำพ้อง แบ่งเป็น ๓ ชนิด.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

สรุปภาพรวมการเรียนรู้
บรรจบ โพธิ์ศรี (วท.สกพ.)
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การดำเนินการควบคุม สินค้าที่มีส่วนประกอบของแร่ใยหิน
สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ลีลาการเรียนรู้ Learning Style.
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ชีวิต.
สื่อเสริมความรู้เรื่อง คำพ้องเสียง นางกิติยาพร คงทอง ครู คศ.1
POWERPOINT ประกอบการสอนกลุ่มสาระภาษาไทย
คดี มาจากคำว่า คติ แปลว่า การไป การเคลื่อน แบบ
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
การแจกลูกและการสะกดคำ โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ.เมือง จ. พะเยา
ภาพจะเลื่อนโดยอัตโนมัติ
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง 中国货币 (สกุลเงินจีน) ช่วงชั้นที่ที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ครูนาฎหทัย สิทธิบุญ โรงเรียนแกลง“วิทยสถาวร”จังหวัดระยอง.
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
คำพ้อง จุดมุ่งหมาย อธิบายความหมายของคำพ้องรูป พ้องเสียงได้
คำวิเศษณ์.
บริหารสมอง.
เพลงกล่อมเด็กภาคใต้.
กระบวนวิชา TL 214 การพัฒนาทักษะภาษาไทยรายกรณี
สอนเสริมภาษาไทย เรื่องการใช้ภาษาเพื่อพัฒนาความคิด
ข้อคิดฮิตโดนใจ โดย...อ.อ้อ สุธาสินี
วิชาภาษาไทย เรื่อง คำพ้อง นำเสนอโดย กลุ่ม ๑.
ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว.
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
ภาษาปาก ภาษาปาก หมายถึง ภาษาที่ใช้สื่อสารอย่างไม่เป็นทางการ ทั้งการพูดและการเขียน การใช้ภาษาพูดนั้นมีลักษณะต่างๆ จำนวนมาก เช่น การใช้คำศัพท์รูปแบบประโยคหรือวลี
หลักการแก้ปัญหา.
ชีวิตที่พอเพียงสู่ความสุขที่ยั่งยืน
๗.พยัญชนะท้ายพยางค์แม่ กง
๘. พยัญชนะท้ายพยางค์แม่ กม
๒.พยัญชนะท้ายพยางค์“แม่กก”
คือพยางค์ที่ไม่มีตัวสะกด
Music: Smoke gets in your eyes Pictures By: Unknown source.
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
เทคนิคการฝึกอบรมที่เน้นผู้เข้ารับการอบรม
สื่อเสริมความรู้เรื่อง คำพ้องเสียง
โรงเรียนบ้านกมลราษฎร์
เกมฝึกทักษะการคิดทางภาษาไทย ชุดที่ ๓ เชื่อมโยงชีวิต
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนชุมชนศิลาเพชร สพท.น่าน เขต ๒
อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ แก้ไขอย่างไรดี
พยัญชนะต้น.
เพื่อน ตลอดการณ์ คุณอาจไม่เชื่อในคำแนะนำต่อไปนี้แต่เป็นการแนะนำที่ยิ่งใหญ่ ให้อ่านจนจบคงได้เรียนรู้บางสิ่งบางอย่าง.
การใช้ภาษา เพื่อการสื่อสาร
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
การอ่านเชิงวิเคราะห์
เรื่อง การเขียนคำจากคำอ่าน
ผังงาน (FLOW CHART) ผังงาน (Flow Chart)เป็นรูปแบบของการจำลองความคิดแบบหนึ่ง รูปแบบของการจำลองความคิดเพื่อความสะดวกในการทำงาน แบ่ง เป็น ๒ แบบ คือ ๑) แบบข้อความ.
คำสรรพนาม จัดทำโดย ด.ช.ธนวัฒน์ เตชะนิรัติศัย เลขที่ 30
การฟังเพลง.
การอ่านเพื่อพัฒนาตนเอง
เพลงประกอบการสอน ชุดการสอนเขียนกาพย์ยานี 11 และกลอนสุภาพ
จัดทำโดย : จันทรัช พลตะขบ : นพรัตน์ พลตะขบ สอนโดย : ครูพนิดา กำลา
นางสรัญญา โพธิ์เอี่ยม โรงเรียนวัดตะคร้ำเอน สพป.กจ.2
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
เรื่อง ประโยค.
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
เซซิเลีย เธอทำลายหัวใจฉัน เธอทำให้ความมั่นใจฉันสั่นคลอนอยู่ทุกๆวัน
บทสัมภาษณ์ครูสอนภาษาอังกฤษ
โดย ซานูซี เบญจ มันต์ การจัดกิจกรรม การเรียนการสอน ณ มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา 19 พฤศจิกายน 2552.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คำพ้อง คำที่เขียนรูปหรือออกเสียงตรงกัน แต่ความหมายต่างกัน  คำพ้อง แบ่งเป็น ๓ ชนิด

คำพ้อง คำพ้องรูป คือ คำที่เขียนรูปเดียวกัน แต่มีการสะกดและออกเสียงที่ต่างกัน ซึ่งทำให้บุคคลทั่วไปอ่านผิดอยู่เสมอๆ และความหมายก็ต่างกันด้วย

คำพ้อง คำพ้องรูป คำอ่าน ความหมาย กรี กฺรี กระดูกแหลมที่หัวกุ้ง กะ-รี ช้าง กรอด กฺรอด เซียวลง ผอม กะ-หฺรอด ชื่อนกขนาดเล็ก เขมา เข-มา เกษม สบายใจ ความพ้นภัย ขะ-เหฺมา ชื่อโกฐชนิดหนึ่งใช้เป็นเครื่องยาไทย; ดำ

  คำพ้อง  คำพ้องเสียง  คือ คำที่อ่านออกเสียงเหมือนกัน แต่เขียนต่างกัน และมีความหมายต่างกัน

คำพ้อง กัน กัน = กีด บัง ห้าม กันต์ = โกน ตัด กรรณ = หู กาน กัน = กีด บัง ห้าม กันต์ = โกน ตัด กรรณ = หู กาน กาน = ตัด ราน การ = กิจ ธุระ งาน กาล = เวลา

คำพ้อง จัน ฉัด จัน = ชื่อตันไม้ ฉัด = เตะ จันท์ = ดวงเดือน ฉัฐ = ที่6 จัน = ชื่อตันไม้ จันท์ = ดวงเดือน จันทน์ = ชื่อต้นไม้ ฉัด ฉัด = เตะ ฉัฐ = ที่6 ฉัตร = เครื่องสูงชนิดหนึ่ง

คำพ้อง คำพ้องทั้งรูปและเสียง เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า คำหลายความหมาย ซึ่งหมายถึง คำที่มีรูปเหมือนกัน อ่านออกเสียงอย่างเดียวกัน แต่มีความหมายหลายอย่างแล้วแต่จะนำไปใช้

คำพ้อง ตัวอย่าง คำพ้องทั้งรูปและเสียง คำว่า "ขัน" อ่านว่า ขัน หมายถึง ตัวอย่าง   คำพ้องทั้งรูปและเสียง คำว่า "ขัน" อ่านว่า ขัน หมายถึง ๑. ภาชนะสำหรับตักหรือใส่น้ำ ๒. ทำให้ตึงหรือเเน่นด้วยวิธีหมุนเข้าใป เช่น ขันนอต ๓. อาการร้องเป็นเสียงอย่างหนึ่งของไก่ ๔. หัวเราะ รู้สึกตลก

คำพ้อง เพลงแหล่คำพ้องรูปคำพ้องเสียง *** ติงโจ๊ะ ติงติง ติงทั่งติงทั่ง ฉันจะขอเกริ่นออกมาเป็นเพลงแหล่ ฟังให้แน่แท้เรื่องของคำพ้อง นั้นคำพ้องเสียงอ่านเสียงเดียวสมปอง หากเราทดลองอ่านเขียนเร็วพลัน *** การอ่านนั้นจะดีต้องใช้ ร(เรือ). กาลส่วนที่เหลือกาลเวลา กาฬแปลว่าคำสมดังเจตนา ประสบการณ์นั้นหนาจำไว้ดีจริง *** นั้นคำพ้องรูปโปรดจงจำไว้ เพลารถยนต์นั้นไง จำไว้เถิดหนา เวลาตอนเย็นใช้เพลาอย่ารีรอ ต้นไม้มากพอต้นเสมาจงจำ *** ภูผาใหญ่คือ เส-ลา นั้นไง โปรดจงจำคำพ้องรูปที่เห็น เสมาโบสถ์ไง ที่ดูงามเด่น ไอ้เจ้าเนื้อเย็นคำพ้องรูปเอย ผู้แต่ง : ครูวันเพ็ญ เจริญหลาย ทำนอง : เพลงแหล่

คำพ้อง เพลง คำพ้องเสียง ผู้แต่ง : นางวันเพ็ญ เจริญหลาย ผู้แต่ง : นางวันเพ็ญ เจริญหลาย ทำนอง : เป็นโสดทำไม โอ้คำพ้องเสียง สำเนียงออกเสียงเหมือนกัน ความหมายนั้นต่างกัน แสนสำคัญจดจำให้ดี เช่น คำแพร่พันธุ์ ผูกพัน และพรรณนั้นดี ออกเสียงเหมือนกันทุกที คำนี้คำพ้องเสียงเอย หากการทำงาน นงคราญจำให้ขึ้นใจ ตัว “ร” สะกดนั้นไซร้ จำเอาไว้กาล คือ เวลา สถานการณ์ จงจำให้ได้ดั่งว่า พ้องเสียงนั้นดียิ่งกว่า คุณค่าภาษาไทย องค์ภูมิพลเสิศล้น เรื่องภาษาไทย ให้ความสำคัญยิ่งใหญ่ ในภาษาไทยจงจำให้ดี เราเป็นคนไทย พูดได้เขียนได้แสนดี อ่านได้ล้ำเลิศชีวี ภูมีของปวงชาวไทย

คำพ้อง เพลง คำพ้องรูป ผู้แต่ง : นางวันเพ็ญ เจริญหลาย ทำนอง : ยามสนธยา ผู้แต่ง : นางวันเพ็ญ เจริญหลาย ทำนอง : ยามสนธยา คำพ้องรูปนั้นหนอ อย่ารีรอมจำให้ดี พ้องรูปความหมายนี้ ดูให้ดีเขียนเหมือนกัน จำให้มั่นคำพ้องรูปเอย (ซ้ำ) อีกเพลารถยนต์นั้นหนอ และเพ-ลาเวลานี้ เลาดูให้ดี ต้นไม้นี้จำให้ได้ เส-ลานั่นไงภูผาใหญ่ (ซ้ำ) จงจำจงจำให้ดี องค์ในหลวงนี้ ให้ความสำคัญ ภาษาไทยให้จดจำ เขียนให้ถูกและอ่านให้ถูก เราจงจำจงจำให้ดี (ซ้ำ)

จบ