หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 นาฏศิลป์ในท้องถิ่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
Advertisements

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549
หมอลำ “หมอลำ” หมายถึง การร้องเป็นทำนองตามคำกลอนในหนังสือผูก คนที่จำคำกลอนในลำต่างๆได้มากและไปแสในงานบุญต่างๆเรียกว่า “หมอลำ” การแสดงหมอลำมีพัฒนาการอย่างยาวนาน.
นางศุจินันท์ ฉลาด โรงเรียนโชคชัยสามัคคี นครราชสีมา
องค์ประกอบของนาฏศิลป์ไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการแสดงและการวิจารณ์การแสดง
ทัศนธาตุคือหัวใจ เป็นบันไดสร้างทัศนศิลป์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ สร้างสรรค์งานสวย ด้วยเอกลักษณ์ไทย.
หน่วยการเรียนรู้ กิจกรรมทางภาษา
ด.ช. กิตติธัช แก้วนิลกุล
สถานที่ท่องเที่ยวในแต่ละจังหวัด
วัฒนธรรมของประเทศลาว
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
วัฒนธรรมของประเทศอินโดนีเซีย
เรื่อง อาหารไทย ๔ ภาค จัดทำโดย
เสนอ คุณครู นิตยา เอี่ยมแดง ภาคอีสาน.
ภูมิปัญญาไทย.
แนวคิด ทฤษฎีและวิธีการศึกษาพื้นฐานใน
" ประวัตินาฏศิลป์ไทย เป็นศิลปะการละครฟ้อนรำและดนตรีอันมีคุณสมบัติตามคัมภีร์นาฏะหรือนาฏยะ กำหนดว่า ต้องประกอบไปด้วยศิลปะ 3 ประการ คือ การฟ้อนรำ การดนตรี
ไทยสบาย หรือไทยสปายะ (Thai Spaya)
ลานวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน สร้างอาชีพ
การรำ โนรา ชาตรี โรงเรียนอนุบาลวังม่วงอ.วังม่วง จ.สระบุรี
การศึกษาชุมชนและการนำเสนอเชิงประจักษ์
ความหมาย ขอบเขต กำเนิดนาฏกรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สุนทรียศาสตร์
ศูนย์สารนิเทศอีสานสิรินธร
พระธาตุพนมค่าล้ำ วัฒนธรรมหลากหลาย เรณูภูไท เรือไฟโสภา งามตาฝั่งโขง.
เพลงกล่อมเด็กภาคใต้.
ภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคใต้
การจัดการศึกษาในชุมชน
ภูมิปัญญาทางภาษา มีภูมิปัญญาไทยแฝงตัวอยู่มากมาย ทั้งการดำเนินชีวิต
เอกสารประกอบการบรรยายสรุป
กลุ่มที่ 1 กลุ่มภาคเหนือและภาคตะวันออก
วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนวชิรป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ สาระ ดนตรี เรื่อง การเรียนดนตรีพื้นบ้านของจังหวัดน่าน.
ภาพกิจกรรมการพัฒนาชุมชน วันที่ ส. ค. 54 ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชน บ้านใหม่จำบอน.
รายงานเรื่อง วันลอยกระทง จัดทำโดย นันทวัฒน์ แสนสุริงวงค์ เสนอ
เนื้อหาที่มีประโยชน์ Useful Content
ของที่ระลึก โมเดลไม้แกะสลักแม่ไม้มวยไทย
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2
โครงการแก้ปัญหาภัยพิบัติโดยชุมชน บ้านห้วยลากปืนใน ต. ห้วยไร่ อ
จัดทำโดย นางสาวปฑันทิญา จินดาเสวก คณะสาธารณสุขศาสตร์ กลุ่ม 10
ขนมไทย โดย:นางสาวณัฏฐกา ประทุมมา รหัส ชั้นปี่ที่ 1 กลุ่ม10
นางวรรณี ศรีดนุเดช การพัฒนาความพร้อมด้านคณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวน 0-9
โรงเรียนบ้านเหล่าดอนเงิน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 1
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก
อาหารภาคเหนือ เสนอ อ.ปริสา หนูอินทร์ จัดทำโดย นาย.รัฐธรรมนูญ เลขที่.2
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
บที่ ๒ เนื้อหาของวัฒนธรรม
การแสดง. 1. โขนเป็นการแสดงแบบใด เนื้อหา ศิลปะการแสดงอันเป็นเอกลักษณ์ของชาวไทยที่มี ประวัติความเป็นมายาวนาน เป็นศิลปะการเต้นเป็น เรื่อง ผู้แสดงตามสวมหัวโขน.
เรื่อง อาหารและการแสดง แต่ละภาค กลุ่มที่ 21 นางสาวสุนทรีย์ เมืองนก เลขที่ 44 นางสาวธิดาภรณ์ เอี่ยมสะอาด เลขที่ 46 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3.
What is the Wisdom ?.
รำวงมาตรฐาน.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
ภูมิปัญญาที่เป็นเอกลักษณ์ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
จัดทำโดย นายธีรภัทร บัวเนียม เสนอต่อ อาจาร์ยสมคิด มีมะจำ
คนอีสาน หลายคน คงรู้จักคุ้นเคยและ ได้ลิ้มชิมรส กันมา บ้างแล้ว ชาว อีสานมีวถีการ ดำเนินชีวิตที่เรียบ ง่ายเช่นเดียวกับ การที่รับประทาน อาหารอย่าง.
โครงการข้อมูล ท้องถิ่น
การอนุรักษ์ ส่งเสริมประเพณี ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
1. คำขวัญของจังหวัดเชียงราย 2. คำขวัญของจังหวัดเชียงใหม่ 3. คำขวัญของจังหวัดน่าน 4. คำขวัญของจังหวัดพะเยา 5. คำขวัญของจังหวัดแพร่ 6. คำขวัญของจังหวัดแม่ฮ่องสอน.
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
หน้าหลัก สมาชิก ประเพณีของภาคเหนือ ประเพณีของภาคกลาง
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
เรื่อง ท่องแดนมังกร ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 นายอานัฐ ปรีสมบัติ ครูโรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสัย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาฬสินธุ์ เขต 1.
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
จัดทำโดย เด็กชาย ชนายุทธ มหายศ ชั้น ม.1/4 เลขที่ 6 เสนอ คุณครูอรอุมา พงค์ธัญญะ ดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 นาฏศิลป์ในท้องถิ่น จัดทำโดย ครูเสาวภาคย์ ณ ร้อยเอ็ด โรงเรียนอนุบาลอุตรดิตถ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1

การแสดงพื้นบ้าน คือ นาฏศิลป์ในท้องถิ่นที่มี การสร้างสรรค์ สืบทอดกันมาช้านาน ซึ่งแฝงไว้ด้วย วัฒนธรรม ประเพณี และเอกลักษณ์ประจำ ท้องถิ่นที่แตกต่างกันในแต่ละท้องถิ่น แต่มีความ คล้ายคลึงและเหมือนกันในแนวคิดที่นำวิถีการ ดำเนินชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณีมาถ่ายทอด ในรูปแบบของศิลปะการแสดงที่ ประณีตงดงามอย่างมีแบบแผน และสร้างความสนุกสนานให้กับ ชาวบ้านในแต่ละท้องถิ่น

การแสดงพื้นบ้านแบ่งออกเป็น 4 ภาค ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้

             การแสดงพื้นเมืองภาคเหนือ เน้นดนตรีและท่ารำที่ช้า นุ่มนวล อ่อนช้อย สวยงาม สะท้อนให้เห็นวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของคนภาคเหนือ เช่น ฟ้อนสาวไหม ฟ้อนเล็บ ฟ้อนเงี้ยว

การแสดงพื้นเมืองภาคอีสาน เน้นดนตรีและท่ารำที่สนุกสนาน รื่นเริง สะท้อนให้เห็นการดำรงชีวิตที่เรียบง่าย และยึดถือประเพณีความเชื่อต่างๆ ของคนภาคอีสาน เช่น เซิ้งกระติบข้าว เซิงสวิง เซิ้งแหย่ไข่มดแดง ฟ้อนภูไท

การแสดงพื้นเมืองภาคกลาง เน้นดนตรีและท่ารำที่สนุกสนานครึกครื้น สะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิตที่สนุกสนาน รื่นเริง และมีชีวิตชีวาของคนภาคกลาง เช่น เต้นกำรำเคียว รำเถิดเทิง ระบำชาวนา

การแสดงพื้นเมืองภาคใต้ เน้นดนตรีและท่ารำที่เร็ว คึกคัก และสนุกสนาน สะท้อนให้เห็นวัฒนธรรม ความเป็นอยู่ และประเพณีของคนภาคใต้อย่างชัดเจน เช่น ระบำรองเง็ง ระบำเมาะอินัง ระบำร่อนแร่ รำซำเป็ง ระบำตารีกีปัส 

ทบทวน จงบอกประเภทของการแสดงพื้นเมืองของไทย โดยแบ่งตามภูมิภาคของประเทศไทย จากชุดการแสดงดังต่อไปนี้

โนรา ฟ้อนที ฟ้อนผาง ระบำตารีกีปัส ฟ้อนเจิง เต้นกำรำเคียว หนังตะลุง  ฟ้อนกิงกะหลา ระบำปาแต๊ะ รำกลองยาว ฟ้อนผีมด กันตรึม มะโยง เซิ้งโปงลาง ลิเกป่า รำแม่ศรี ฟ้อนเล็บ เซิ้งสวิง ฟ้อนดาบ ฟ้อนมาลัย เซิ้งแหย่ไข่มดแดง ฟ้อนแพน ฟ้อนเก็บใบชา มวยโบราณ ฟ้อนล่องน่าน ระบำชาวนา ระบำร่อนแร่ เซิ้งตังหวาย ซัมเป็ง เซิ้งกระติบข้าว รองเง็ง เซิ้งบั้งไฟ ฟ้อนเทียน ฟ้อนภูไท ตบมะผาบ รำเหย่อย ฟ้อนสาวไหม รำโทน เซิ้งกะโป๋ ลิเกฮูลู

สวัสดี