องค์ประกอบของนาฏศิลป์ไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

การพูด.
สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549
บทเรียนโปรแกรม Power Point
นางศุจินันท์ ฉลาด โรงเรียนโชคชัยสามัคคี นครราชสีมา
คดี มาจากคำว่า คติ แปลว่า การไป การเคลื่อน แบบ
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๒
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการแสดงและการวิจารณ์การแสดง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 นาฏศิลป์ในท้องถิ่น
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ สร้างสรรค์งานสวย ด้วยเอกลักษณ์ไทย.
วิเคราะห์องค์ประกอบดนตรี
รูปแบบการจัดองค์ประกอบ
การอ่านจับใจความเรื่องสั้น
การสร้างงานกราฟิก.
โดย ครูภาวัติ บุญกาญจน์
" ประวัตินาฏศิลป์ไทย เป็นศิลปะการละครฟ้อนรำและดนตรีอันมีคุณสมบัติตามคัมภีร์นาฏะหรือนาฏยะ กำหนดว่า ต้องประกอบไปด้วยศิลปะ 3 ประการ คือ การฟ้อนรำ การดนตรี
ความรู้เบื้องต้น การออกแบบ Media.
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
ความหมาย ขอบเขต กำเนิดนาฏกรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สุนทรียศาสตร์
บทนำ วิชานาฏยหัตถกรรม Stage Crafts (อ.เมษา อุทัยรัตน์)
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการใช้ภาษาพัฒนาความคิด
บทนำ บทที่ 1.
ทักษะการใช้กิริยาท่าทาง และบุคลิกการเป็นครู
วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนวชิรป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน
หลักการเขียนโน้มน้าวใจ ลักษณะของสารโน้มน้าวใจ
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
เนื้อหาที่มีประโยชน์ Useful Content
องค์ประกอบ ของการออกแบบเว็บไซท์ อย่างมีประสิทธิภาพ
เทคนิคการฝึกอบรมที่เน้นผู้เข้ารับการอบรม
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
การจัดการเกี่ยวกับรูปภาพตอนที่ ๑ การจัดการเกี่ยวกับภาพเพื่อนำภาพมาใช้ ประกอบงาน การจัดการเกี่ยวกับภาพเพื่อนำภาพมาใช้ประกอบ งาน มีอยู่หลายวิธีขึ้นอยู่ กับ.
ความรู้เกี่ยวกับตัวเรา
การอ่านเชิงวิเคราะห์
ฉากและบรรยากาศ.
แก่นเรื่อง.
การเขียน.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องประเภทของเครื่องดนตรีไทย
การฟังเพลง.
เรื่อง การใช้ท่าทางประกอบการพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
องค์ประกอบของวรรณคดี
กลยุทธ์และกระบวนการสร้างการเรียนรู้
ทักษะการใช้กิริยาท่าทางและบุคลิกการเป็นครู
บที่ ๒ เนื้อหาของวัฒนธรรม
บทสนทนา การเดินเรื่อง มุมมองของกวี
การแสดง. 1. โขนเป็นการแสดงแบบใด เนื้อหา ศิลปะการแสดงอันเป็นเอกลักษณ์ของชาวไทยที่มี ประวัติความเป็นมายาวนาน เป็นศิลปะการเต้นเป็น เรื่อง ผู้แสดงตามสวมหัวโขน.
องค์ประกอบของบทละคร.
รำวงมาตรฐาน.
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ชนิดของคำ คำอุทาน ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
เรื่อง การปฏิบัติตนในวัยรุ่น
Lighting Designer นักออกแบบแสง.
รสในวรรณคดี พิโรธวาทัง.
การใช้ทักษะในการพูด ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการพูด ผู้พูด สื่อ สาร
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๔ ENL 3701
กิจกรรมการสอนโดยใช้ “เพลง”
การเขียนบทโฆษณา และการผลิตภาพยนตร์โฆษณา
การปฏิบัติตัวของวัยรุ่น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

องค์ประกอบของนาฏศิลป์ไทย ๑. การฟ้อนรำ ๒. จังหวะ ๓. เนื้อร้องและทำนองเพลง ๔.การแต่งกาย ๕. การแต่งหน้า ๖. เครื่องดนตรีที่บรรเลงประกอยการแสดง ๗. อุปกรณ์การแสดงละคร นางศุจินันท์ ฉลาด โรงเรียนโชคชัยสามัคคี นครราชสีมา

การฟ้อนรำ การฟ้อนรำหรือลีลาท่ารำ เป็นท่าทางของการเยื้องกรายฟ้อนรำที่สวยงามโดยมีมนุษย์เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ารำเหล่านั้นให้ถูกต้องตามแบบแผน รวมทั้งบทบาทและลักษณะของตัวละคร ประเภทของการแสดงและการสื่อความหมายที่ชัดเจน

จังหวะ จังหวะเป็นส่วนย่อยของบทเพลงที่ดำเนินไปเป็นระยะและสม่ำเสมอ การฝึกหัดนาฏศิลป์ไทยจำเป็นต้องใช้จังหวะเป็นพื้นฐานในการฝึกหัด เพราะจังหวะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติละมีอยู่ในตัวมนุษย์ทุกคน หากผู้เรียนมีทักษะทางการฟังจังหวะแล้ว ก็จะสามารถรำได้สวยงาม แต่ถ้าผู้เรียนไม่เข้าใจจังหวะก็จะทำให้รำๆไม่ถูกจังหวะหรือเรียกว่า “ บอดจังหวะ” การรำก็จะไม่สวยงามและไม่ถูกต้อง

เนื้อร้องและทำนองเพลง การแสดงท่ารำแต่ละครั้งจะต้องสอดคล้องตามเนื้อร้อง และทำนองเพลง ทั้งนี้เพื่อบอกความหมายของท่ารำ ถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกในการแสดงได้ตามเนื้อเรื่อง ตลอดจนสามารถสื่อความหมายให้กับผู้ชมเข้าใจตรงกันได้ เช่น การแสดงอารมณ์รัก ผู้รำจะประสานมือทาบไว้ที่หน้าอกใบหน้ายิ้มละไม สายตามองไปยังตัวละครที่รำคู่กัน เป็นต้น

การแต่งกาย การแต่งกายในการแสดงนาฏศิลป์ สามารถบ่งบอกถึงยศ ฐานะและบรรดาศักดิ์ของผู้แสดงตัวนั้นๆ โดยเฉพาะการแสดงโขน การแต่งกายจะเปรียบเทียบแทนสีกายของตัวละคร เช่น เมื่อแสดงเป็นหนุมานจะต้องแต่งกายด้วยชุดสีขาวมีลายปักแทนขนเป็นลายทักษิณาวัตร สวมหัวโขนสีขาว เป็นต้น พระรามมีกายสีเขียว ทศกัณฐ์ ก็คือยักษ์นนทุกกลับชาติมาเกิด มี 10 หน้า 20 มือ มีสีกายเป็นสีเขียว หนุมาน เป็นลิงเผือก (กายสีขาว)

การแต่งหน้า การแต่งหน้าเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่ทำให้ผู้แสดงสวยงามและอำพรางข้อบกพร่องของใบหน้าของผู้แสดงได้ และการแต่งหน้ายังสามารถบ่งบอกถึงวัย ลักษณะเฉพาะของตัวละครได้ เช่น แต่งหน้าคนหนุ่มให้เป็นคนแก่ หรือแต่งหน้าผู้แสดงให้เป็นตัวตลก เป็นต้น

เครื่องดนตรีที่บรรเลงประกอบการแสดง การแสดงนาฏศิลป์จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องใช้เครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการแสดง ดังนั้นผู้แสดงจะต้องรำให้สอดคล้องตามเนื้อร้องและทำนองเพลง ในขณะเดียวกัน ดนตรีเป็นองค์ประกอบหลักที่สำคัญในการช่วยเสริมให้การแสดงสมบูรณ์และสื่อความหมายได้ชัดเจนมากขึ้น อีกทั้งยังช่วยเสริมบรรยากาศในการแสดงให้สมจริงยิ่งขึ้นด้วย ภาคใต้ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคอีสาน

อุปกรณ์การแสดงละคร การแสดงบางชุด อาจต้องมีอุปกรณ์ประกอบการแสดงละครด้วย เช่นระบำพัด ระบำนกเขา ฟ้อนเทียน ฟ้อนเล็บ ฟ้อนร่ม เป็นต้น อุปกรณ์แต่ละชนิดที่ใช้ประกอบการแสดงจะต้องสมบูรณ์ สวยงาม และการแสดง เช่น ร่ม ผู้แสดงจะต้องมีทักษะในการใช้อุปกรณ์ได้อย่างคล่องแคล่ว วางในระดับที่ถูกต้อง สวยงาม ฟ้อนดาบ ระบำร่ม(ฟ้อนจ้อง “ระบำพัดใบพ้อ”