เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ มาสเตอร์วินิจ กิจเจริญ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย นางวรวรรณ ชะโลธาร
Advertisements

สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
นางสาวนภัสญาณ์ ไก่งาม
โปรแกรมการคำนวณค่า sin รายชื่อผู้เสนอโครงงาน
ประวัตินักคณิตศาสตร์
งานนำเสนอวิชาคณิตศาสตร์ บทพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem).
ลิมิตและความต่อเนื่อง
โครงสร้างทางคณิตศาสตร์และการให้เหตุผล (Mathematical Structure and Reasoning) Chanon Chuntra.
การวิเคราะห์ความเร็ว
การบ้าน ข้อ 1 จงพิสูจน์ว่า
เรื่อง ทฤษฎีบทปีทาโกรัส โดย.. ด.ญ.กรรณิการ์ รัตนกิจธำรง
ครูโรงเรียนฝางวิทยายน
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
ความเท่ากันทุกประการ
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
ลิมิตและความต่อเนื่อง
Points, Lines and Planes
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
ทฤษฏีบทพีธาโกรัส กรรณิกา หอมดวงศรี ผู้เขียนเนื้อหา.
Tangram.
นักคณิตศาสตร์ในอดีต.
บทพิสูจน์ต่างๆทางคณิตศาสตร์
นายสุวรรณ ขันสัมฤทธิ์
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
โปรแกรมคำนวณค่าไซน์ (Sine)
โปรแกรมการคำนวณพื้นที่สามเหลี่ยมมุมฉาก
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
การดำเนินการบนเมทริกซ์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
การพัฒนาสมการไดโอแฟนไทน์กำลังสอง
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
วิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่
เรื่อง สมาร์ทคิดกับคณิตศาสตร์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี
ทฤษฎีบทปีทาโกรัส.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
นางสาวปัทมาภรณ์ บุญมาดี คุณครูนวลทิพย์ นวพันธุ์
Set Operations การกระทำระหว่างเซต
สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์
2.ทฤษฎีบทพิทาโกรัส(เขียนในรูปพื้นที่ของสี่เหลี่ยมจัตุรัส)
ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ครูปพิชญา คนยืน. ทักษะ กระบวนการ ทาง คณิตศาสตร์ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 8.
บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
การนำทฤษฎีพีทาโกรัสไปใช้
บทกลับของทฤษฎีพิทาโกรัส
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ มาสเตอร์วินิจ กิจเจริญ วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ มาสเตอร์วินิจ กิจเจริญ

หัวข้อที่นักเรียนจะได้เรียนต่อไปนี้ จะเกี่ยวกับนิยามของอัตราส่วนตรีโกณมิติ ซึ่งเป็นอัตราส่วนของด้าน 2 ด้านของสามเหลี่ยมมุมฉาก สมาชิกในกลุ่มต้องช่วยกันศึกษารายละเอียดและช่วยกันทำแบบฝึก ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน อภิปรายให้เกิดความเข้าใจมากที่สุด

สามเหลี่ยมสองรูป ถ้ามีมุมที่เท่ากัน 3 มุมแล้ว อัตราส่วนตรีโกณมิติ (Trigonometric Ratio) จากการที่นักเรียนเคยศึกษาเรื่องสามเหลี่ยมที่คล้ายกันมาแล้ว จะพบว่า สามเหลี่ยมสองรูป ถ้ามีมุมที่เท่ากัน 3 มุมแล้ว สามเหลี่ยมสองรูปนั้นจะคล้ายกัน 2. ถ้าสามเหลี่ยมสองรูปคล้ายกันแล้ว อัตราส่วนของด้าน ที่อยู่ตรงข้ามมุมเท่าจะเท่ากัน

แล้ว สามเหลี่ยม ABC คล้ายกับ สามเหลี่ยม XYZ ดังนั้นจะได้ หรือ จากรูป ถ้า และ แล้ว สามเหลี่ยม ABC คล้ายกับ สามเหลี่ยม XYZ ดังนั้นจะได้ หรือ

และจาก จะได้ จะได้ หรือจาก หรือจาก จะได้ และจากสมบัติดังกล่าวเราสามารถนำไปหาความยาวของด้านของสามเหลี่ยมได้

เรียกว่า อัตราส่วนตรีโกณมิติ ในทำนองเดียวกันถ้าสามเหลี่ยม 2 รูปที่คล้ายกันเป็นสามเหลี่ยมมุมฉากดังรูป Y B z a c x C A Z X b y ก็จะได้ , , เช่นเดียวกัน อัตราส่วนของความยาวของด้านคู่ใดคู่หนึ่งของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากนี้ เรียกว่า อัตราส่วนตรีโกณมิติ

ดังนั้น จากรูป เมื่อสามเหลี่ยม ABC เป็นสามเหลี่ยมมุมฉาก มี เรียก BC ว่า ด้านตรงข้ามมุม A ให้ยาว a หน่วย เรียก AC ว่า ด้านประชิดมุม A ให้ยาว b หน่วย c a C A b หรือในทำนองเดียวกันจากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC เมื่อ ยึดมุม B เป็นหลัก เรียก AB ว่า ด้านตรงข้ามมุมฉาก ให้ยาว c หน่วย เรียก AC ว่า ด้านตรงข้ามมุม B ให้ยาว b หน่วย เรียก BC ว่า ด้านประชิดมุม B ให้ยาว a หน่วย

และจากรูป สามเหลี่ยม ABC , เมื่อยึด มุม A เป็นหลัก 1. ความยาวของด้านตรงข้ามมุม A เรียกว่า ไซน์ของมุม A เขียนแทนด้วย sinA ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก 2. ความยาวของด้านประชิดมุม A เรียกว่า โคไซน์ของมุม A เขียนแทนด้วย cosA ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก 3. ความยาวของด้านตรงข้ามมุม A เรียกว่า แทนเจนต์ของ A เขียนแทนด้วย tanA ความยาวของด้านประชิดมุม A หมายเหตุ อัตราส่วนข้างต้นใช้ได้เฉพาะ กรณีมุม A เป็นมุมแหลมเท่านั้น  

จากอัตราส่วนไซน์ โคไซน์ และแทนเจนต์ ยังมีอัตราส่วนตรีโกณมิติอีก 3 อัตราส่วน ซึ่งกำหนดด้วยบทนิยามดังนี้ 4. โคเซแคนท์ของมุม A หรือ cosecant A ซึ่งเขียนแทนด้วย cosecA (อ่านว่า โคเซค เอ) หมายถึง ส่วนกลับของ sinA ; sinA  0 นั่นคือ นั่นแสดงว่า ดังนั้น 5. เซแคนท์ของมุม A หรือ secant A ซึ่งเขียนแทนด้วย secA (อ่านว่า เซค เอ) หมายถึง ส่วนกลับของ cosA ; cosA  0 นั่นคือ นั่นแสดงว่า ดังนั้น 6. โคแทนเจนต์ของมุม A หรือ cotangent A ซึ่งเขียนแทนด้วย cotA (อ่านว่า คอตท์เอ) หมายถึง ส่วนกลับของ tanA ; tanA  0 นั่นคือ นั่นแสดงว่า ดังนั้น

cosecA, cotA, cosecC, secC, ตัวอย่าง จากรูปจงหาค่าของ sinA, cosA, tanA, sinC, cosC, tanC, cosecA, cotA, cosecC, secC, B 5 วิธีทำ จากทฤษฎีบทพิธาโกรัส จะได้ 4 C A ดังนั้น

สรุป จากรายละเอียดข้างต้น อัตราส่วนตรีโกณมิติ หมายถึง อัตราส่วนของความยาวของด้านคู่ใดคู่หนึ่ง ของสามเหลี่ยมมุมฉากเมื่อยึดมุมใดมุมหนึ่งเป็นหลัก(มีขนาดมุมระหว่าง 0 – 90 องศา) โดยที่ sinA = ข้าม ดังนั้น cosecA = ฉาก ฉาก ข้าม cosA = ชิด ดังนั้น secA = ฉาก ฉาก ชิด tanA = ข้าม ดังนั้น cot A = ชิด ชิด ข้าม   ข้อตกลง ข้าม ในที่นี้หมายถึง ด้านตรงข้ามมุม A ฉาก ในที่นี้หมายถึง ด้านตรงข้ามมุมฉาก ชิด ในที่นี้หมายถึง ด้านประชิดมุม A