การแสดงผล และการรับข้อมูล การแสดงผล และการรับข้อมูล
รหัสรูปแบบ (Format Code) %u สำหรับการแสดงผลตัวเลขจำนวนเต็มบวก %o สำหรับการแสดงผลออกมาในรูปแบบของเลขฐานแปด %x สำหรับการแสดงผลออกมาในรูปแบบของเลขฐานสิบหก %f สำหรับการแสดงผลตัวเลขทศนิยม %e สำหรับการแสดงผลตัวเลขทศนิยมออกมาในรูปแบบ E %c สำหรับแสดงผลอักขระ 1 ตัว %s สำหรับแสดงผลข้อความ %p สำหรับการแสดงผลตัวชี้ตำแหน่ง
คำสั่งที่ใช้ในการแสดงผล และการรับข้อมูล printf() รูปแบบ printf (“ control “,value): control : ส่วนที่ใช้ควบคุมการแสดงผล ซึ่งมีอยู่ 3 แบบด้วยกัน คือ ข้อความ ธรรมดา รหัสควบคุมรูปแบบ (เช่น %d, %f) และอักขระควบคุมการแสดงผล (เช่น %n) โดยส่วนที่ใช้ควบคุมการแสดงผลเหล่านี้จะต้องเขียนไว้ภายใน “ “ value : คือ ค่าของเครื่องหมาย นิพจน์ หรือมาโครที่ต้องการแสดงผล โดย ถ้ามีมากกว่าหนึ่งตัวให้ใช้เครื่องหมาย , (comma) คั่นระหว่างแต่ละตัว
ตัวอย่าง OUTPUT Nice to meet you! OUTPUT 32 /* Ex1 */ #include <stdio.h> main() { printf (“Nice to meet you!”); } OUTPUT Nice to meet you! /* Ex2 */ #include <stdio.h> int num = 32; main() { printf (“%d” ,num); } OUTPUT 32
ตัวอย่าง /* EX 3 */ #include<stdio.h> main() { int x1=43,x2=0x77,x3=0573; float y1=-764.512,y2=1.25e02; char z='A'; char name[10]="Southeast"; clrscr(); printf("\n%d\n",x1); printf("%x\n%o\n",x2,x3); printf("%f\n%e\n",y1,y2); printf("%c\n%s\n",z,name); } OUTPUT
อักขระควบคุมการแสดงผล \n ขึ้นบรรทัดใหม่ \t เว้นช่องว่างเป็นระยะ 1 Tab (6 ตัวอักษร) \r กำหนดให้ Cursor ไปอยู่ต้นบรรทัด \f เว้นช่องว่างเป็นระยะ 1 หน้าจอ \b ลบอักขระตัวท้ายสุดออก 1 ตัว