การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปร บทที่ 10 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปร BC428 Research in Business Computer
ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวแปรขึ้นไป ลักษณะของตัวแปรที่ใช้ในการทดสอบจะมี 2 ชนิด ตัวแปรเชิงปริมาณ ตัวแปรเชิงคุณภาพ จะต้องวิเคราะห์ความสัมพันธ์ และหาขนาดความสัมพันธ์ของตัวแปร BC428 Research in Business Computer
การทดสอบสามารถทดสอบได้ 3 กรณี ตัวแปรเชิงปริมาณกับเชิงปริมาณ ตัวแปรเชิงคุณภาพกับเชิงคุณภาพ ตัวแปรเชิงปริมาณกับเชิงคุณภาพ BC428 Research in Business Computer
ตัวแปรเชิงปริมาณกับตัวแปรเชิงปริมาณ ข้อมูลจะอยู่ในมาตรวัด Interval Scale และ Ratio Scale วัดความสัมพันธ์ จากค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ใช้ r แทนกลุ่มตัวอย่าง และ แทนประชากร ค่าที่วัดได้จะอยู่ระหว่าง -1 ถึง 1 BC428 Research in Business Computer
ความหมายของค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ค่า r ความหมาย ค่าบวก มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน ค่าลบ มีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้าม ค่าเข้าใกล้ 1 มีความสัมพันธ์กันมาก และในทิศทางเดียวกัน ค่าเข้าใกล้ -1 มีความสัมพันธ์กันมาก และในทิศทางตรงกันข้าม ค่าเข้าใกล้ 0 มีความสัมพันธ์กันน้อย ค่าเท่ากับ 1 มีความสัมพันธ์กันอย่างสมบูรณ์ และในทิศทางเดียวกัน ค่าเท่ากับ -1 มีความสัมพันธ์กันอย่างสมบูรณ์ และในทิศทางตรงกันข้าม ค่าเท่ากับ 0 ไม่มีความสัมพันธ์กัน BC428 Research in Business Computer
ระดับความสัมพันธ์ ค่า r อยู่ระหว่าง ระดับความสัมพันธ์ 0.00 – 0.29 มีความสัมพันธ์กันต่ำ 0.30 – 0.69 มีความสัมพันธ์กันปานกลาง 0.70 – 0.99 มีความสัมพันธ์กันสูง BC428 Research in Business Computer
สมมติฐาน Ho : ตัวแปรทั้งสองตัวไม่มีความสัมพันธ์กัน( = 0) BC428 Research in Business Computer
Analyze Correlate Bivariate … Data10_1.sav ลักษณะของคำถามในแบบสอบถาม 1. เกรดเฉลี่ย ………………………………... 2. จำนวนชั่วโมงในการอ่านหนังสือ .........................ชั่วโมง/วัน ต้องการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างเกรดเฉลี่ยของนักศึกษากับจำนวนชั่วโมงในการอ่านหนังสือว่ามีความสัมพันธ์กันหรือไม่ คำสั่ง Analyze Correlate Bivariate … BC428 Research in Business Computer
Correlations ผลลัพธ์ของโปรแกรม SPSS BC428 Research in Business Computer
ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐาน Ho : เกรดเฉลี่ยของนักศึกษากับจำนวนชั่วโมงในการอ่านหนังสือไม่มีความสัมพันธ์กัน H1 : เกรดเฉลี่ยของนักศึกษากับจำนวนชั่วโมงในการอ่านหนังสือมีความสัมพันธ์กัน ค่า Sig = 0.028 ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 ค่า Sig < แสดงว่าปฏิเสธสมมติฐานหลัก นั่นคือ เกรดเฉลี่ยของนักศึกษากับจำนวนชั่วโมงในการอ่านหนังสือมีความสัมพันธ์กัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ขนาดความสัมพันธ์ของเกรดเฉลี่ยและจำนวนชั่วโมงในการอ่านหนังสือมีค่าเท่ากับ 0.492 BC428 Research in Business Computer
จำนวนชั่วโมงการอ่านหนังสือ ผลการวิเคราะห์ เกรดเฉลี่ย จำนวนชั่วโมงการอ่านหนังสือ - 0.492* *p<.05 จากตาราง แสดงค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างเกรดเฉลี่ยและจำนวนชั่วโมงในการอ่านหนังสือ เมื่อทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 โดยพบว่าเกรดเฉลี่ยมีความสัมพันธ์กับจำนวนชั่วโมงในการอ่านหนังสือของนักศึกษาในทิศทางเดียวกัน(r=0.492) BC428 Research in Business Computer
ในกรณีที่ทดสอบตัวแปรพร้อมกันมากกว่า 2 ตัวแปร Example.sav ในกรณีที่ทดสอบตัวแปรพร้อมกันมากกว่า 2 ตัวแปร ตัวแปรสำหรับการทดสอบมีดังนี้ Exp, Amount1, Amount2 และ Amount3 ต้องการทดสอบว่าตัวแปรทั้ง 4 ตัว มีความสัมพันธ์กันหรือไม่ BC428 Research in Business Computer
ผลลัพธ์ของโปรแกรม SPSS BC428 Research in Business Computer
จะต้องทดสอบสมมติฐาน โดยจำนวนคู่ที่ต้องทดสอบ เป็น = 4(4-1)/2 = 6 คู่ จะต้องทดสอบสมมติฐาน โดยจำนวนคู่ที่ต้องทดสอบ เป็น = 4(4-1)/2 = 6 คู่ ตัวอย่างขั้นตอนการทดสอบสมมติฐานระหว่างตัวแปร Exp กับ Amount1 ดังนี้ 1. Ho : ประสบการณ์กับจำนวนวันในการใช้ IT เพื่อการสอนไม่มีความสัมพันธ์กัน H1 : ประสบการณ์กับจำนวนวันในการใช้ IT เพื่อการสอนมีความสัมพันธ์กัน ค่า Sig = 0.144 ระดับนัยสำคัญ() = 0.01 ค่า Sig > แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือประสบการณ์กับจำนวนวันในการใช้ IT เพื่อการสอนไม่มีความสัมพันธ์กัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 BC428 Research in Business Computer
ผลการวิเคราะห์ **p<.01 Exp Amount1 Amount2 Amount3 - -.159 -.077 .267** -.074 .419** .365** **p<.01 BC428 Research in Business Computer
จากตาราง แสดงค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทั้ง 4 ตัวแปร พบว่ามีจำนวน 3 คู่ที่มีความสัมพันธ์กัน โดยเมื่อทดสอบที่ค่าระดับนัยสำคัญ 0.01 พบว่า จำนวนวันในการใช้ IT สำหรับการสอน(Amount1) มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกับจำนวนชั่วโมงในการใช้ IT สำหรับการเตรียมสอนของอาจารย์ (Amount2; r=0.267) และ มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกับจำนวนชั่วโมงในการใช้ IT สำหรับการสอน(Amount3; r=0.419) ส่วนจำนวนชั่วโมงในการใช้ IT สำหรับการเตรียมสอนของอาจารย์(Amount2) มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกับจำนวนชั่วโมงในการใช้ IT สำหรับการสอน(Amount3; r=0.365) BC428 Research in Business Computer
ตัวแปรเชิงคุณภาพกับเชิงคุณภาพ ข้อมูลจะอยู่ในมาตรวัด Nominal Scale และ Ordinal Scale ข้อมูลจัดอยู่ในรูปแบบของตารางสองทาง (Crosstab) สถิติทดสอบ คือ Chi-square โดยการทดสอบจะต้องกระทำ 2 ขั้นตอน ดังนี้ ทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรทั้ง 2 ตัว หาขนาดความสัมพันธ์ของตัวแปรทั้งสองตัว BC428 Research in Business Computer
ขั้นตอนการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรเชิงคุณภาพกับเชิงคุณภาพ คำสั่ง Analyze Descriptive Statistics Crosstabs... ลักษณะข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มี 2 แบบ ข้อมูลปฐมภูมิ ข้อมูลทุติยภูมิ BC428 Research in Business Computer
อาชีพและรายได้มีความสัมพันธ์กันหรือไม่ ข้อมูลปฐมภูมิ Data10_2P.sav 1. อาชีพ ข้าราชการ พนักงานบริษัท หมอ 2. รายได้ ต่ำกว่า 10,000 บาท 10,000 – 25,000 บาท มากกว่า 25,000 บาท อาชีพและรายได้มีความสัมพันธ์กันหรือไม่ BC428 Research in Business Computer
BC428 Research in Business Computer
ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐาน 1. Ho : อาชีพไม่มีความสัมพันธ์กันกับรายได้ (=0) H1 : อาชีพมีความสัมพันธ์กันกับรายได้ ( 0) สถิติทดสอบ คือ Chi-Square = 21.450 ค่า Sig = 0.000 ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 ค่า Sig < แสดงว่าปฏิเสธสมมติฐานหลัก นั่นคือ อาชีพมีความสัมพันธ์กันกับรายได้ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 Research in Business Computer
ข้อมูลทุติยภูมิ อาชีพ รายได้ ข้าราชการ พนักงานบริษัท หมอ รวม Data10_2S.sav ข้อมูลทุติยภูมิ อาชีพ รายได้ ข้าราชการ พนักงานบริษัท หมอ รวม ต่ำกว่า 10,000 บาท 21 8 5 34 10,000-25,000 บาท 11 15 9 35 มากกว่า 25,000 บาท 6 7 18 31 38 30 32 100 BC428 Research in Business Computer
ลักษณะการป้อนข้อมูล ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ BC428 Research in Business Computer
การหาความสัมพันธ์ของข้อมูลทุติยภูมิ ใช้ 2 คำสั่ง คำสั่ง Data Weight Cases… คำสั่ง Analyze Descriptive Statistics Crosstabs... จะได้ผลลัพธ์เหมือนกรณีข้อมูลปฐมภูมิ BC428 Research in Business Computer
การหาขนาดความสัมพันธ์ของตัวแปรเชิงคุณภาพกับเชิงคุณภาพ วิธีการวัดขนาดความสัมพันธ์ ทำได้ 2 แบบ แบบ Symmetric ไม่คำนึงว่าตัวแปรใดเป็นตัวแปรอิสระหรือตัวแปรใดเป็นตัวแปรตาม แบบ Asymmetric จะต้องคำนึงว่าตัวแปรใดเป็นตัวแปรอิสระหรือตัวแปรใดเป็นตัวแปรตาม คำสั่ง Analyze Descriptive Statistics Crosstabs... BC428 Research in Business Computer
เลือกลักษณะความสัมพันธ์ Symmetric Asymmetric BC428 Research in Business Computer
BC428 Research in Business Computer
อธิบายไว้แล้ว BC428 Research in Business Computer
วัดขนาดความสัมพันธ์แบบ Uncertainty coefficient มีค่าเท่ากับ 0 ในกรณีที่กำหนดให้รายได้เป็นตัวแปรตาม ขนาดความสัมพันธ์มีค่าเท่ากับ 0.094 แสดงว่า อาชีพและรายได้มีความสัมพันธ์กันในระดับน้อย เนื่องจากค่าที่วัดได้มีค่าต่ำ ในกรณีที่กำหนดให้อาชีพเป็นตัวแปรตาม ขนาดความสัมพันธ์มีค่าเท่ากับ 0.095 แสดงว่า อาชีพและรายได้มีความสัมพันธ์กันในระดับน้อย เนื่องจากค่าที่วัดได้มีค่าต่ำ BC428 Research in Business Computer
วัดขนาดความสัมพันธ์แบบ Phi and Cram_r’s V มีค่าเท่ากับ 0. 463 และ 0 BC428 Research in Business Computer
ผลการวิเคราะห์ อาชีพ รายได้ - 0.327* *p<.05 จากตาราง แสดงค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างอาชีพและรายได้ เมื่อทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 โดยพบว่าอาชีพมีความสัมพันธ์กับรายได้ในทิศทางเดียวกัน(r=0.327) BC428 Research in Business Computer
ตัวแปรเชิงปริมาณกับเชิงคุณภาพ ต้องทดสอบ 2 ขั้นตอน 1. ทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรทั้ง 2 ตัว 2. หาขนาดของความสัมพันธ์ว่ามากน้อยเพียงใด BC428 Research in Business Computer
ทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรเชิงปริมาณกับเชิงคุณภาพ โดยคำสั่งในการทดสอบในหัวข้อนี้จะใช้คำสั่งเดียวกับการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว(One Way ANOVA) คำสั่ง Analyze Compare Means One-Way ANOVA… BC428 Research in Business Computer
จำนวนชั่วโมงในการดูโทรทัศน์(ชั่วโมง/วัน) Data10_3.sav Ex ต้องการตรวจสอบว่าจำนวนชั่วโมงในการดูโทรทัศน์มีความสัมพันธ์กันกลุ่มอายุหรือไม่ 1. อายุ ต่ำกว่า 25 ปี 26 – 50 ปี ตั้งแต่ 46 ปี ขึ้นไป 2. จำนวนชั่วโมงในการดูโทรทัศน์ ............................ ชั่วโมง/ วัน จำนวนชั่วโมงในการดูโทรทัศน์(ชั่วโมง/วัน) วัยรุ่น 15- 25 ปี วัยทำงาน 26 – 45 ปี คนสูงอายุ ตั้งแต่ 46 ปี ขึ้นไป 1 15 8 7 6 4 3 5 2 BC428 Research in Business Computer
จากผลลัพธ์ของโปรแกรม สามารถเขียนขั้นตอนการทดสอบสมมติฐานได้ ดังนี้ Ho : จำนวนชั่วโมงในการดูโทรทัศน์ไม่มีความสัมพันธ์กับกลุ่มอายุ H1 : จำนวนชั่วโมงในการดูโทรทัศน์มีความสัมพันธ์กับกลุ่มอายุ สถิติทดสอบ คือ F = 3.806 ค่า Sig = 0.035 ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 ค่า Sig < แสดงว่าปฏิเสธสมมติฐานหลัก นั่นคือ จำนวนชั่วโมงในการดูโทรทัศน์มีความสัมพันธ์กับกลุ่มอายุ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 Research in Business Computer
การหาขนาดความสัมพันธ์ของตัวแปรเชิงปริมาณกับเชิงคุณภาพ คำสั่ง Analyze Descriptive Statistics Crosstabs... BC428 Research in Business Computer
จากผลลัพธ์ของโปรแกรม SPSS สามารถอธิบายขนาดความสัมพันธ์ของตัวแปรทั้ง 2 ตัวแปร ได้ดังนี้ ในกรณีที่กำหนดให้จำนวนชั่วโมงในการดูโทรทัศน์เป็นตัวแปรตาม ขนาดความสัมพันธ์มีค่าเท่ากับ 0.469 แสดงว่า จำนวนชั่วโมงในการดูโทรทัศน์และกลุ่มอายุมีความสัมพันธ์กันในระดับปานกลาง ในกรณีที่กำหนดให้กลุ่มอายุเป็นตัวแปรตาม ขนาดความสัมพันธ์มีค่าเท่ากับ 0.669 แสดงว่า จำนวนชั่วโมงในการดูโทรทัศน์และกลุ่มอายุมีความสัมพันธ์กันในระดับปานกลาง จากผลลัพธ์ที่ได้ จะเห็นว่าตัวแปรทั้ง 2 ตัว ตัวแปรที่ควรจะเป็นตัวแปรตาม คือ จำนวนชั่วโมงในการดูโทรทัศน์ ดังนั้นขนาดความสัมพันธ์ของตัวแปร ควรจะมีค่าเท่ากับ 0.469 BC428 Research in Business Computer
จำนวนชั่วโมงในการดูโทรทัศน์ ผลการวิเคราะห์ กลุ่มอายุ จำนวนชั่วโมงในการดูโทรทัศน์ - 0.469* *p<.05 จากตาราง แสดงค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างจำนวนชั่วโมงในการดูโทรทัศน์และกลุ่มอายุ เมื่อทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 โดยพบว่าจำนวนชั่วโมงในการดูโทรทัศน์มีความสัมพันธ์กับกลุ่มอายุในทิศทางเดียวกัน(r=0.469) BC428 Research in Business Computer
สัปดาห์หน้า ส่งผลการวิเคราะห์ Pretest การบ้าน บทที่ 10 สัปดาห์หน้า ส่งผลการวิเคราะห์ Pretest BC428 Research in Business Computer