Data Warehouse (คลังข้อมูล)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
Advertisements

กิจกรรมที่ 9 ระดับสารสนเทศ จุดประสงค์ อธิบายและจำแนกระดับสารสนเทศ.
ระบบสารสนเทศ.
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
ผลงานประเมินเข้าสู่ตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการพิเศษ
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
ประเภทของระบบสารสนเทศ
เรื่อง ประเภทของสาระสนเทศ 3.ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS)
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
Chapter 1 : Business Intelligence เบื้องต้น
สุนีย์ พงษ์พินิจภิญโญ
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
NU. Library Online Purchasing System
Historical data analysis
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การเขียนโครงร่างการวิจัย
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
การเงิน.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
การวิเคราะห์ผู้เรียน
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
Chapter8 การบัญชีและการวิเคราะห์งบการเงิน
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
บทที่ ๖ การวิเคราะห์ข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS DATA ANALYSIS)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
Information Technology
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด4 10คำถาม.
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
บทที่ 3 Planning.
โครงสร้างขององค์กร (Organization Structure)
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
ที่ใช้ใน Object-Oriented Design
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
(Transaction Processing Systems)
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
ฐานข้อมูล Data Base.
บทที่ 6 การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่การออกแบบระบบ การประเมินทางเลือกซอฟท์แวร์
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
การจัดการฐานข้อมูล.
บทที่ 2 การจัดการสารสนเทศ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
บทที่ 7 ระบบสารสนเทศ(Information Systems)
Data analysis for the making a decision with Business Intelligence
ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การใช้งานและพัฒนาระบบ
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
บทที่ 3 กระบวนการวิจัยตลาดและการกำหนดปัญหาการวิจัย
รูปแบบการบริการสารสนเทศ
ความหมายและบทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
Business Intelligence (BI) ธุรกิจอัจฉริยะ
บทที่ 6 การวิจัยเชิงสืบเสาะ : ข้อมูลทุติยภูมิ
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
Introduction & Objectives 1 Group Idea 2 Programming Design 3 Results and discussion 4 Future plans 5.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Data Warehouse (คลังข้อมูล) แนวคิดเกี่ยวกับคลังข้อมูล สถาปัตยกรรมของคลังข้อมูล

แนวคิดเกี่ยวกับคลังข้อมูล คลังข้อมูล คือ ที่เก็บข้อมูลขององค์กรที่ได้รับการออกแบบ เพื่อช่วยในการตัดสินใจของฝ่ายบริหารโดยระบบข้อมูลเพื่อการบริหารจะแยกจากฐานข้อมูลงานประจำวัน ซึ่งอาจได้ข้อมูลจากฐานข้อมูลงานประจำวันหรือจากภายนอกองค์กร และเก็บข้อมูลในรูปแบบข้อมูลสรุป นอกจากนี้ในคลังข้อมูลยังเก็บเครื่องมือสำหรับดำเนินการกับข้อมูล กระบวนการทำงานกับข้อมูล และทรัพยากรอื่นๆ เป้าหมายในการสร้างคลังข้อมูล เพื่อแยกกลุ่มข้อมูลสารสนเทศที่ใช้ในการวิเคราะห์ทางธุรกิจออกจากฐานข้อมูลที่ใช้งานประจำวัน ให้เกิดประสิทธิภาพสูง และทำให้การเรียกใช้ข้อมูลชุดนี้ทำได้อย่างยืดหยุ่น รวดเร็วมากยิ่งขึ้น ประโยชน์ของคลังข้อมูล ทำการรวบรวมข้อมูลที่มีความซับซ้อนให้ง่ายต่อการจัดเก็บ สามารถนำข้อมูลมาใช้ได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง

Data Warehouse Architecture Diagram

สถาปัตยกรรมของคลังข้อมูล คุณสมบัติของระบบฐานข้อมูลคลังข้อมูล Subject Oriented : ข้อมูลถูกสร้างจากหัวข้อที่สนใจ Integrated : ข้อมูลถูกรวบรวมจากแหล่งต่างๆ แต่นำมาสร้างเป็นฐานข้อมูลที่สอดคล้องเป็นหนึ่งเดียว Time-variant : ข้อมูลที่เก็บไว้ต้องมีอายุประมาณ 5-10 ปี เพื่อใช้เปรียบเทียบ หาแนวโน้มและทำนายผลลัพธ์ในอนาคต Non-volatile : ข้อมูลไม่ถูกเปลี่ยนแปลงจากผู้ใช้ โดยผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้เท่านั้น

สถาปัตยกรรมของคลังข้อมูล ความแตกต่างของระบบฐานข้อมูลคลังข้อมูลกับระบบฐานข้อมูลงานประจำวัน (OLTP) Consistency : ความสอดคล้องกันของข้อมูล Transaction Time dimension : OLTP จะทำงานอย่างรวดเร็ว และข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ส่วนคลังข้อมูลตลอดวันไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลง Normalization : คลังข้อมูลไม่ต้องการทำ normalization

สถาปัตยกรรมของคลังข้อมูล ส่วนประกอบของคลังข้อมูล เครื่องมือสกัดแยกข้อมูล ข้อมูลที่สกัดและแยกออกมาแล้ว เมตาดาตาสำหรับแสดงเนื้อหาข้อมูล ฐานข้อมูลสำหรับคลังข้อมูล เครื่องมือจัดเก็บข้อมูลในคลังข้อมูล

สถาปัตยกรรมของคลังข้อมูล กระบวนการรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์หารูปแบบข้อมูลในคลังข้อมูล ขั้นตอนที่ 1 เลือก business process ขั้นตอนที่ 2 เลือกข้อมูลพื้นฐานที่เก็บอยู่ในตารางหลักของ business process ขั้นตอนที่ 3 เลือก dimension ที่จะถูกนำมาใช้กับแต่ละแถวของตารางหลัก ขั้นตอนที่ 4 เลือก measured fact (ข้อมูลที่มีการวัด, การประมวลผล หรือการคำนวณไว้แล้ว)