ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กับทิศทางการพัฒนาสังคมไทย
Advertisements

เรื่อง ธุรกิจในชีวิตประจำวัน
บทที่ 2 แนวคิดและความสำคัญของงานการขาย
บทบาทและหน้าที่ของนักคอมพิวเตอร์
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
การบริหารความสัมพันธ์และการฟื้นฟูความพอใจ จากบริการที่ผิดพลาด
โรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร
ระบบการบริหารการตลาด
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
การวางแผนกลยุทธ์.
วิธีการดำเนินงานธุรกิจเครือข่าย
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
ความหมาย ลักษณะ และการบังคับใช้ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
“คุณธรรม” และ “จริยธรรม”
จริยธรรม จริยธรรม หมายถึง กิริยาหรือความประพฤติที่ดี ที่เป็นธรรม ที่ถูกต้อง เป็นการกระทำความดี เป็นการกระทำที่ทำให้ผู้กระทำและผู้อื่นได้ประโยชน์โดยเสมอภาคซึ่งกันและกัน.
๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
นางสาวรัชดา สุทธิวรวุฒิกุล
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
พระพุทธศาสนา ฝึกคนไม่ให้ประมาท.
คุณธรรมและจริยธรรมของครู
การเฝ้าระวังกับนโยบายสังคม
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
หลักการบริหารภาครัฐยุคใหม่
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรมธุรกิจ
Chapter 10 จรรยาบรรณของนักธุรกิจ
Good Corporate Governance
มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ของ ผู้ตรวจราชการและหน่วยงานที่รับการตรวจราชการ สุรศักดิ์ แสงอร่าม รองเลขาธิการ ส.ป.ก. 21 ต.ค
K M กจ. ประจำเดือนมีนาคม 2551
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 งานธุรกิจ และการประกอบอาชีพ
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
คุณธรรมและจริยธรรม สำหรับ วิทยาการคอมพิวเตอร์
การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
จรรยาบรรณ เรื่องส่งเสริมเสรีภาพในวิชาชีพ
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
วิชา หลักการตลาด บทที่ 12 จริยธรรมทางการตลาด และความรับผิดชอบต่อสังคม
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
จริยธรรม และ กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
สมาชิก นายธนากร กุจิรพันธ์ ม. 4/6 เลขที่3 นายภูวพงษ์ ภุมราพันธุ์ ม
จรรยาบรรณ นางสาวสมลักษณ์ ลวดเงิน พนักงานพัฒนากองทุนหมู่บ้าน
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
วิชาธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ สัปดาห์ที่ 1
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสว่าง โรงเรียนวังไกลกังวล
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
บทที่ 2 จริยธรรมการวิจัยตลาด
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
บทที่ 2 หลักการดำเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
แนวคิดเกี่ยวกับวินัยและการลงโทษ
ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
 กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ.
อุดมการณ์ และจิตวิญญาณ ของความเป็นครู.
“ชีวิตมีคุณค่า พึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง”
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม ส่วนที่ 1 ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรมธุรกิจ การประกอบธุรกิจย่อมต้องมีสิ่งที่กำกับ เพื่อขจัดการล่วงละเมิดสิทธิอันชอบธรรมที่อาจเกิดขึ้น สิ่งนั้นคือ จริยธรรมธุรกิจ

ที่มาของจริยธรรม 1. จริยธรรมเกิดจากการยึดประเพณี 2. จริยธรรมเกิดจากการยึดตามกฎหมาย 3. จริยธรรมเกิดจากศาสนา

1. จริยธรรมเกิดจากการยึดประเพณี ประเพณีเป็นที่เครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของหมู่คณะหรือ สังคม ประเพณีเป็นการแสดงถึงการปฏิบัติตนตามวิถีชีวิต ของคนในแต่ละสถานที่ทำให้เกิดการอยู่รวมกันเป็นสังคม เช่น ประเพณีแต่งงาน งานบวช ประเพณีสงกรานต์ เป็นต้น

2. จริยธรรมเกิดจากการยึดตามกฎหมาย กฎหมายไม่ใช่จริยธรรม กฎหมายเป็นเพียง จริยธรรมที่ใช้ควบคุม ความประพฤติที่ไม่ดี โดยจะมี บทลงโทษกำหนดไว้ แต่สำหรับผู้ที่ประพฤติดีถือว่าเป็น ผู้มีจริยธรรมก็จะไม่มีกฎหมายกำหนดการลงโทษเอาไว้

3. จริยธรรมเกิดจากศาสนา โดยทั่วไปศาสนาจะมีหลักคำสอน เพราะทุกศาสนา สอนให้คนเป็นคนดี มีศีลธรรม และศาสนาเป็นเรื่องของ จิตใจและอารมณ์ ซึ่งจริยธรรมมักอิงอยู่กับศาสนา ทั้งนี้ เพราะคำสอนของศาสนามีส่วนสร้างระบบจริยธรรมให้ สังคม

ความเป็นมาของจริยธรรม อริสโตเติล กล่าวว่า พฤติกรรมที่เหมาะสม คือ การไม่ทำอะไรสุดโต่ง เช่น ร่ำรวยเกินไป หรือ ยากจนเกินไป ควรปฏิบัติตามกฎของการเดินสายกลาง (golden mean of moderation)

ความหมายของจริยธรรม คำว่า "จริยธรรม"  แยกออกเป็น จริย + ธรรม

คำว่า “จริย” หมายถึง ความประพฤติหรือกิริยาที่ควรประพฤติ ส่วนคำว่า “ธรรม” มีความหมายหลายประการ เช่น คุณความดี, หลักคำสอนของศาสนา, หลักปฏิบัติ

ความหมายของจริยธรรม "จริยธรรม" จึงมีความหมายตามตัวอักษรว่า "หลักแห่งความประพฤติ" หรือ "แนวทางของการประพฤติ"

องค์ประกอบสำคัญของจริยธรรม ความเฉลียวฉลาด ความกล้าหาญ ความรู้จักเพียงพอ ความยุติธรรม ความมีสติ

ประโยชน์ของจริยธรรม สิ่งของที่ปรากฏอยู่ในสังคมบางอย่างอาจมีค่ามาก บางอย่างอาจมีค่าน้อย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ อุปสงค์ และ อุปทาน ของตลาด ซึ่งเป็นกลไกที่สามารถอธิบายได้ อย่างชัดเจน แต่จริยธรรมนั้น เป็นสิ่งที่มีคุณค่ามิอาจ ซื้อหาหรือกำหนดคุณค่าที่แน่นอนได้ ขึ้นอยู่กับการ กำหนดค่าของแต่ละบุคคล

ประโยชน์ของจริยธรรม (ต่อ) ประโยชน์ของจริยธรรม (ต่อ) 1. จริยธรรมก่อให้เกิดความมุ่งมั่นของพนักงานในองค์กร 2. จริยธรรมก่อให้เกิดภาพพจน์ที่ดีต่อองค์กร 3. จริยธรรมก่อให้เกิดความมั่นใจของนักลงทุน 4. จริยธรรมก่อให้เกิดความสงบสุขของสังคม 5. จริยธรรมก่อให้เกิดความเจริญของประเทศชาติ

ความหมายของจรรยาบรรณทางธุรกิจ จรรยาบรรณ หมายถึง มาตรฐานคุณค่าแห่ง ความดีงามของการกระทำหนึ่ง ๆ และหรือพฤติกรรม โดยรวม

ความหมายของจรรยาบรรณทางธุรกิจ ธุรกิจ หมายถึง บุคคล นิติบุคคล หรือองค์กร ใด ๆ ที่ดำเนินการผลิตสินค้าหรือและบริการเพื่อ ผลตอบแทนในการลงทุนในรูปของกำไร

ความหมายของจรรยาบรรณทางธุรกิจ จรรยาบรรณธุรกิจ หมายถึง มาตรฐานการผลิตสินค้า และ การให้บริการ เป้าหมายเพื่อผลตอบแทน ตามคุณค่าของการลงทุน โดยเป็นธรรมต่อ ทุกฝ่าย กล่าวคือ ทั้งเจ้าของกิจการ ผู้บริหาร ผู้ร่วมงาน ผู้บริโภค ผู้รับบริการ รัฐบาล และสังคม ซึ่งมีความสัมพันธ์เชิง เศรษฐกิจร่วมกัน

ความหมายของจรรยาบรรณทางธุรกิจ จรรยาบรรณธุรกิจ มิได้หมายความเฉพาะความชอบ ธรรมของตัวธุรกิจเท่านั้น แต่หมาย รวมถึงกลไกในการจัดการกับ องค์ประกอบ และหน้าที่ของ องค์ประกอบแต่ละประการด้วย ทั้งนี้ เพื่อประสิทธิผลสูงสุดของธุรกิจเอง

ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมธุรกิจ 1. เพื่อสร้างความเป็นธรรมในการแข่งขัน 2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต 3. เพื่อสร้างความมั่นใจแก่ผู้บริโภค 4. เพื่อรักษาสมดุลของสภาพแวดล้อม

ความแตกต่างระหว่างจริยธรรมกับกฎหมาย กฎหมายและจริยธรรม มีความหมายแตกต่าง กันอยู่หลายประการแต่มีเป้าหมายเดียวกัน คือ การจัดระเบียบสังคมให้สมาชิกทุกคนในสังคม มีความสุขอยู่อย่างปกติสุข

ความแตกต่างระหว่างจริยธรรมกับกฎหมาย (ต่อ) 1. การบังคับใช้ 2. เหตุแห่งการเกิด 3. บทลงโทษ 4. การยกย่องสรรเสริญ 5. เกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสิน

ภาพแสดงความแตกต่างระหว่างจริยธรรมและกฎหมาย มีการบังคับใช้ ปฏิบัติด้วยความสมัครใจ เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ เกิดขึ้นจากการสืบทอด มีบทลงโทษที่ชัดเจน บทลงโทษขึ้นอยู่กับสมาชิกในสังคม ปฏิบัติตามจะได้รับการชื่นชม ปฏิบัติตามจะได้รับการยกยิ่งสรรเสริญ 5. ตัดสินด้วยคำว่าผิดหรือไม่ผิด 5. ตัดสินด้วยคำว่า ควรหรือไม่ควร

ความเหมือน หรือ แตกต่าง จริยธรรม กับ คุณธรรม

จริยธรรม 1. ความรู้ (Knowledge) 2. ความประพฤติ (Conduct) ระบบของกฎเกณฑ์ใช้ในการวิเคราะห์ ความประพฤติที่ผิด หรือถูกของบุคคล จริยธรรมมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนามา จากบุคคล โดย จริยธรรมประกอบด้วย 3 ด้าน คือ 1. ความรู้ (Knowledge) 2. ความประพฤติ (Conduct) 3. ความรู้สึก (Feeling)

คุณธรรม กรอบความประพฤติ ความคิดที่สังคม หรือ บุคคล ที่มีความเห็นร่วมกันว่าเป็นสิ่งที่ดี มีประโยชน์ มากกว่าโทษ