ตัวแบบเส้นความพอใจเท่ากัน(indifference curve)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีการผลิต และต้นทุนการผลิต
Advertisements

คำสั่งเริ่มต้น รูปแบบ. <HTML>. </HTML>
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
ตัวอย่างการประยุกต์ตัวแบบ IC
บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
บทที่ 6 การชักตัวอย่างเพื่อการยอมรับ
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
Offer curves and the terms of trade ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
ตัวแบบอรรถประโยชน์ (utility theory)
การเลือกคุณภาพสินค้า
Lecture 8.
นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
ดุลยภาพทั่วไป (General equilibrium)
ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
องค์ประกอบ Graphic.
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 1 บทนำ เศรษฐศาสตร์คืออะไร เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
พฤติกรรมผู้บริโภค.
พฤติกรรมผู้บริโภค.
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
พฤติกรรมผู้บริโภค ศิวาพร ทรงวิวัฒน์.
การแจกแจงปกติ.
Operators ตัวดำเนินการ
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
Demand in Health Sector
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
หลักองค์ประกอบทางศิลปะ
ทฤษฎีนีโอคลาสสิค.
ตลาด ( MARKET ).
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ตัวอย่าง : ประสิทธิภาพในการผลิต คำถาม : ให้การผลิตสินค้าชนิดหนึ่งมีผู้ผลิต 2 ราย ที่มี Production function เหมือนกันดังนี้ q = K 0.25 L 0.75 ราย A ใช้
ทฤษฎีการผลิต.
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
เฉลยแบบฝึกหัดเตรียมความพร้อมก่อนเรียน บทที่ 3 Consumer Behavior
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวแบบเส้นความพอใจเท่ากัน(indifference curve) ข้อสมมติของตัวแบบ 1) ความพอใจเพิ่มขึ้นตามปริมาณการบริโภคสินค้า 2) สามารถจัดลำดับความพอใจระหว่างกลุ่มสินค้าที่บริโภคได้ เช่น ชอบ X มากกว่า Y โดยไม่ต้องบอกว่าชอบมากกว่าเท่าใด 3) มีความคงเส้นคงวาในการตัดสินใจ มาตรวัดความพอใจ มีคุณสมบัติเพียงการจัดลำดับเท่านั้น ไม่ต้องวัดความแตกต่างเช่นในตัว แบบอรรถประโยชน์

แนวคิดของเส้นความพอใจเท่ากัน ให้ผู้บริโภคบริโภคสินค้าเพียง 2 อย่าง ชอบ 2 มากกว่า 1 ชอบ 3 มากกว่า 2 ความชอบระหว่าง 1 และ 4? ขนมถ้วย 4 3 2 1 ขนมครก

ลักษณะของเส้นความพอใจเท่ากัน

เส้น IC ลาดลงจากซ้ายมาขวา ความชันของเส้นมีลักษณะอย่างไร?

แนวคิดของ marginal rate of substitution ความหมายของ mrs ปริมาณของขนมถ้วยที่ผู้บริโภคยินดีสละ เพื่อแลกกับขนมครกอีก1 ฝา โดยผู้บริโภคมีความพอใจเท่าเดิม Slope ของเส้น IC end lecture 5 here

จำนวนเส้น IC ของผู้บริโภค 1 ราย ถ้าผู้บริโภคสามารถจัดลำดับความพอใจจากการบริโภคสินค้าได้อย่าง ต่อเนื่อง เขาจะมีเส้นความพอใจเท่ากันในจำนวนอนันต์ สามารถแทรกเส้นความพอใจเท่ากันระหว่างเส้นความพอใจเท่ากันสองเส้น เหมือนกับการแทรก 1.4325 ระหว่าง 1.4320 และ 1.4330 เราจะเห็นเส้น IC ในกรณีดังกล่าวได้หรือไม่? ผู้บริโภคไม่สามารถจัดลำดับความพอใจได้อย่างต่อเนื่อง เส้นความพอใจเท่ากันจึงมีความหนา ทำให้เห็นเส้นความพอใจเท่ากัน แต่ ละเส้นได้ start lecture 6 here

เมื่อผู้บริโภคไม่ชอบสินค้าบางชนิด ผู้บริโภคไม่ชอบสินค้าบางอย่างแต่จำเป็นต้องบริโภค อาหาร II B C I A ทิศทางความพอใจ D จานที่ต้องล้าง

เมื่อผู้บริโภคไม่ยินดียินร้ายกับการบริโภคสินค้าบางชนิด ส้มตำ . C II A . B ทิศทางความพอใจ I ถั่วฝักยาว

เมื่อสินค้าสามารถทดแทนกันได้อย่างสมบูรณ์

เมื่อสินค้าสองชนิดต้องใช้ร่วมกันในสัดส่วนที่คงที่ สร้อยข้างซ้าย ทิศทางความพอใจ 2 II . 1 I A สร้อยข้างขวา 1 2 3