เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
ทอฟฟี่มะละกออัลมอนด์
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
ตลาดน้ำมันโลก: การวิเคราะห์บทบาทของ OPEC (ต่อ)
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
ตัวแบบอรรถประโยชน์ (utility theory)
การเลือกคุณภาพสินค้า
ตัวอย่างการหาทางเลือกที่ดีที่สุด(optimization)
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
Lecture 8.
Training Management Trainee
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
ตัวอย่าง: ตลาดปัจจัยการผลิตที่มีผู้ซื้อรายเดียว
การประยุกต์ 1. Utility function
ราคาและวิธีการกำหนดราคา
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
Q1. การที่ Supply เลื่อนระดับดังภาพ เกิดขึ้นเนื่องจากสาเเหตุใดบ้าง ?
กลไกราคากับผู้บริโภค
ลัทธิคลาสสิคใหม่ Neoclassical Economics
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
MARKET PLANNING DECISION
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
พฤติกรรมผู้บริโภค.
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
0 การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change)
ความยืดหยุ่นอุปสงค์ และอุปทาน อ. ศิวาพร ทรงวิวัฒน์
การแจกแจงปกติ.
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
8 ราคา วัตถุประสงค์ในการกำหนดราคา ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดราคา
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
Demand in Health Sector
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ตลาด ( MARKET ).
ทฤษฎีการผลิต.
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค บาท/กิโลกรัม 80 D* (รายได้ = 800 บาท, ราคาส้ม = 30 บาท/กิโลกรัม) D (รายได้ = 500 บาท, ราคาส้ม = 30 บาท/กิโลกรัม) กิโลกรัม 2 9 10

ประเภทของสินค้า สินค้าปกติ(normal goods) ปริมาณเปลี่ยนไปในทิศทางเดียวกับรายได้ สินค้าด้อยคุณภาพ(inferior goods) ปริมาณเปลี่ยนไปในทิศทางตรงกันข้ามกับรายได้ ความยืดหยุ่นรายได้(income elasticity) เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงในปริมาณการซื้อสินค้า เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง 1 เปอร์เซ็นต์ ในรายได้ของผู้บริโภค Arc and point income elasticity %การเปลี่ยนแปลงในรายได้ = (100)(800 – 500)/650 = 46.15 %การเปลี่ยนแปลงในปริมาณการซื้อ = (100)(9 – 2)/5.5 = 127.27 ความยืดหยุ่นรายได้ = 127.27/46.15 = +2.76

สินค้าจำเป็นและสินค้าฟุ่มเฟือย สินค้าจำเป็น(necessity) ปริมาณใช้ค่อนข้างคงที่ จึงไม่ขึ้นอยู่กับระดับรายได้ มีความยืดหยุ่นรายได้น้อยกว่า 1 ตัวอย่างของยาแก้ปวดศีรษะ ทานครั้งละ 2 เม็ดไม่ว่าจะมีรายได้ระดับใด สินค้าฟุ่มเฟือย(luxury) ปริมาณการใช้เปลี่ยนไปตามระดับรายได้ มีความยืดหยุ่นรายได้มากกว่า 1 ตัวอย่างของหนัง/ละคร รายได้ 10,000 บาทดูหนังเดือนละ 1 ครั้ง พอรายได้ 20,000 บาทดูหนังเดือนละ 4 ครั้ง

เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในราคาสินค้าอื่น บาท/กิโลกรัม D* (รายได้ = 500 บาท, ราคาส้ม = 35 บาท/กิโลกรัม) 80 D (รายได้ = 500 บาท, ราคาส้ม = 30 บาท/กิโลกรัม) กิโลกรัม 2 6 10

สินค้าทดแทนและสินค้าใช้ร่วมกัน สินค้าทดแทน(substitutes) ราคาส้มเพิ่มทำให้ปริมาณเงาะเพิ่ม สินค้าใช้ร่วมกัน(complements) ราคาน้ำตาลเพิ่มทำให้ปริมาณกาแฟลดลง ความยืดหยุ่นราคาไขว้(cross price elasticity) เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงในปริมาณการซื้อสินค้า X เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง 1 เปอร์เซ็นต์ในราคาของสินค้า Y เปอร์เซ็นต์การเพิ่มราคาเท่ากับ (100)(5)/(32.5) หรือ 15.38 เปอร์เซ็นต์การเพิ่มปริมาณเงาะเท่ากับ (100)(4/(3) หรือ 133.33 ความยืดหยุ่นราคาไขว้แบบช่วงเท่ากับ 133.33/15.38 หรือ +8.67

อุปสงค์รวม P P ก) ข) 5 5 D1 D2 Q Q 10 15 P ค) 5 Dt Q 25

อุปทาน: เครื่องมือจำลองพฤติกรรมของผู้ผลิต อุปทานคือปริมาณสินค้าที่ผู้ผลิตยินดีขายที่ระดับราคาต่างๆ ถ้าไม่มีการเปลี่ยนแปลงใน ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อกำไร ราคาปัจจัยการผลิต การเปลี่ยนแปลงในเทคโนโลยี

ตัวอย่างอุปทานของเงาะ ราคาเงาะ ปริมาณขาย ค่าขนส่ง (บาท/กิโลกรัม) (กิโลกรัม) 5 2 10 20 15 30 25 40 35 50 45 60 55

กราฟของเส้นอุปทาน บาท/กิโลกรัม S(ค่าขนส่ง = 2 บาท/กิโลกรัม) 30 5 25

ความยืดหยุ่นราคาของอุปทาน บาท/กิโลกรัม S2 So S1 P2 P1 กิโลกรัม Q1 Q2 Q3 ปัจจัยที่มีผลต่ออุปทาน ระยะเวลา ระยะฉับพลัน(instantaneous) เพิ่มปริมาณไม่ได้ ระยะสั้น(short run) เพิ่มปริมาณได้จากกำลังผลิตที่มีอยู่ ระยะยาว(long run) ขยายกำลังผลิตได้

ปัจจัยที่มีผลต่อเส้นอุปทาน S*(ค่าขนส่ง = 1.50 บาท/กิโลกรัม) บาท/กิโลกรัม S(ค่าขนส่ง = 2 บาท/กิโลกรัม) 30 5 กิโลกรัม 25 31

อุปทานรวม(market supply) ก) ข) S1 S2 20 20 Q Q 15 20 P ค) St 20 Q 35

ดุลยภาพในการซื้อขายเงาะ บาท/กิโลกรัม St 45 34 30 20 Dt 18 พันกิโลกรัม -1 4 6 6.5 8 12 Comparative static พิจารณาเฉพาะจุดเริ่มต้นและจุดจบ ไม่ทราบรายละเอียดระหว่างการปรับตัว Dynamic พิจารณาทั้งกระบวนการ มีรายละเอียดในการปรับตัว

การเปลี่ยนแปลงในดุลยภาพ Dt* 4 6 6. 5 8 12 35 30 St บาท / กิโลกรัม พันกิโลกรัม Dt