เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค บาท/กิโลกรัม 80 D* (รายได้ = 800 บาท, ราคาส้ม = 30 บาท/กิโลกรัม) D (รายได้ = 500 บาท, ราคาส้ม = 30 บาท/กิโลกรัม) กิโลกรัม 2 9 10
ประเภทของสินค้า สินค้าปกติ(normal goods) ปริมาณเปลี่ยนไปในทิศทางเดียวกับรายได้ สินค้าด้อยคุณภาพ(inferior goods) ปริมาณเปลี่ยนไปในทิศทางตรงกันข้ามกับรายได้ ความยืดหยุ่นรายได้(income elasticity) เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงในปริมาณการซื้อสินค้า เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง 1 เปอร์เซ็นต์ ในรายได้ของผู้บริโภค Arc and point income elasticity %การเปลี่ยนแปลงในรายได้ = (100)(800 – 500)/650 = 46.15 %การเปลี่ยนแปลงในปริมาณการซื้อ = (100)(9 – 2)/5.5 = 127.27 ความยืดหยุ่นรายได้ = 127.27/46.15 = +2.76
สินค้าจำเป็นและสินค้าฟุ่มเฟือย สินค้าจำเป็น(necessity) ปริมาณใช้ค่อนข้างคงที่ จึงไม่ขึ้นอยู่กับระดับรายได้ มีความยืดหยุ่นรายได้น้อยกว่า 1 ตัวอย่างของยาแก้ปวดศีรษะ ทานครั้งละ 2 เม็ดไม่ว่าจะมีรายได้ระดับใด สินค้าฟุ่มเฟือย(luxury) ปริมาณการใช้เปลี่ยนไปตามระดับรายได้ มีความยืดหยุ่นรายได้มากกว่า 1 ตัวอย่างของหนัง/ละคร รายได้ 10,000 บาทดูหนังเดือนละ 1 ครั้ง พอรายได้ 20,000 บาทดูหนังเดือนละ 4 ครั้ง
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในราคาสินค้าอื่น บาท/กิโลกรัม D* (รายได้ = 500 บาท, ราคาส้ม = 35 บาท/กิโลกรัม) 80 D (รายได้ = 500 บาท, ราคาส้ม = 30 บาท/กิโลกรัม) กิโลกรัม 2 6 10
สินค้าทดแทนและสินค้าใช้ร่วมกัน สินค้าทดแทน(substitutes) ราคาส้มเพิ่มทำให้ปริมาณเงาะเพิ่ม สินค้าใช้ร่วมกัน(complements) ราคาน้ำตาลเพิ่มทำให้ปริมาณกาแฟลดลง ความยืดหยุ่นราคาไขว้(cross price elasticity) เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงในปริมาณการซื้อสินค้า X เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง 1 เปอร์เซ็นต์ในราคาของสินค้า Y เปอร์เซ็นต์การเพิ่มราคาเท่ากับ (100)(5)/(32.5) หรือ 15.38 เปอร์เซ็นต์การเพิ่มปริมาณเงาะเท่ากับ (100)(4/(3) หรือ 133.33 ความยืดหยุ่นราคาไขว้แบบช่วงเท่ากับ 133.33/15.38 หรือ +8.67
อุปสงค์รวม P P ก) ข) 5 5 D1 D2 Q Q 10 15 P ค) 5 Dt Q 25
อุปทาน: เครื่องมือจำลองพฤติกรรมของผู้ผลิต อุปทานคือปริมาณสินค้าที่ผู้ผลิตยินดีขายที่ระดับราคาต่างๆ ถ้าไม่มีการเปลี่ยนแปลงใน ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อกำไร ราคาปัจจัยการผลิต การเปลี่ยนแปลงในเทคโนโลยี
ตัวอย่างอุปทานของเงาะ ราคาเงาะ ปริมาณขาย ค่าขนส่ง (บาท/กิโลกรัม) (กิโลกรัม) 5 2 10 20 15 30 25 40 35 50 45 60 55
กราฟของเส้นอุปทาน บาท/กิโลกรัม S(ค่าขนส่ง = 2 บาท/กิโลกรัม) 30 5 25
ความยืดหยุ่นราคาของอุปทาน บาท/กิโลกรัม S2 So S1 P2 P1 กิโลกรัม Q1 Q2 Q3 ปัจจัยที่มีผลต่ออุปทาน ระยะเวลา ระยะฉับพลัน(instantaneous) เพิ่มปริมาณไม่ได้ ระยะสั้น(short run) เพิ่มปริมาณได้จากกำลังผลิตที่มีอยู่ ระยะยาว(long run) ขยายกำลังผลิตได้
ปัจจัยที่มีผลต่อเส้นอุปทาน S*(ค่าขนส่ง = 1.50 บาท/กิโลกรัม) บาท/กิโลกรัม S(ค่าขนส่ง = 2 บาท/กิโลกรัม) 30 5 กิโลกรัม 25 31
อุปทานรวม(market supply) ก) ข) S1 S2 20 20 Q Q 15 20 P ค) St 20 Q 35
ดุลยภาพในการซื้อขายเงาะ บาท/กิโลกรัม St 45 34 30 20 Dt 18 พันกิโลกรัม -1 4 6 6.5 8 12 Comparative static พิจารณาเฉพาะจุดเริ่มต้นและจุดจบ ไม่ทราบรายละเอียดระหว่างการปรับตัว Dynamic พิจารณาทั้งกระบวนการ มีรายละเอียดในการปรับตัว
การเปลี่ยนแปลงในดุลยภาพ Dt* 4 6 6. 5 8 12 35 30 St บาท / กิโลกรัม พันกิโลกรัม Dt