กระชุ่มกระชวย ( ) ทศวรรษแห่งการเติบโตสูงสุด :

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทิศทางการดำเนินงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
Advertisements

ค่าของทุน The Cost of Capital
การพัฒนาเครือข่ายสถาบันเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟ Coffee Cooperative Networks
การคลังและนโยบาย การคลัง
การค้าและการเงิน ระหว่างประเทศของไทย (ต่อ)
โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย
นโยบายการเปิดเสรีทางการเงินโลก
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
บทที่ 7 ตลาดการเงินและสถาบันการเงิน
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
สถาบันการเงิน.
พัฒนาการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 34 ปี
พัฒนาการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 32 ปี
ประเทศไทยได้ประโยชน์และเสียประโยชน์อะไรจาก (AFTA)
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
โดย ณรงค์ชัย อัครเศรณี, Ph.D.
การบูรณาการของนโยบายการคลัง ( )
การกำหนดนโยบายการคลังและบูรณาการของ 4 หน่วยงานหลัก ( )
ยุทธศาสตร์การนำเข้า การค้าระหว่างประเทศมีมูลค่ากว่าร้อยละ 55 ของ GDP
งบประมาณ และ กลยุทธ์ทางด้านการเงิน ธนชัย ผู้พัฒน์
Revision Problems.
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
ชื่อ กนกภรณ์ นามสกุล บุญทรง รหัสนักศึกษา ชั้นปีที่ 2 ภาควิชา พัฒนาการเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
ชื่อ นางสาว สุนิสา แก้วจารนัย
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
กันยายน 2555 ผศ. ดร. ยุทธนา เศรษฐปราโมทย์
นโยบายการคลัง.
นายกสมาคมธุรกิจบ้านจัดสรร
การเตรียมการและการกำหนดท่าทีในการเจรจาต่อรองในระดับสากล
ยุทธศาสตร์ของไทยต่อการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคและทวิภาคี
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต พัฒนาการอำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร
อุตสาหกรรมเด่นของไทย มูลค่าส่งออก (ล้านบาท)
บทบาทของการบริหารการเงิน (The Role Financial Management)
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
กระชุ่มกระชวย (ค.ศ ) (พ.ศ )
รัฐวิสาหกิจไทย: อดีต ปัจจุบัน และอนาคต
มูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ปี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
ไทยได้ประโยชน์อะไร จากการเปิดเสรีอาเซียน-จีน
บทที่ 2 การจัดหาเงินทุน (Financing)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
น.สพ.ไพรัช ธิติศักดิ์ 27 มกราคม 2553
SMEs SMALL MEDIUM ENTERPRIS ES วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม ผู้ประกอบการ ในกิจการ อุตสาหกรรม ธุรกิจการเกษตร พาณิชยกรรม ธุรกิจบริการ.
เคลื่อนทัพส่งออก : มุมมองใหม่ โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี
การบริหารเศรษฐกิจ ภาคการผลิต การค้า และการลงทุน โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง วันพฤหัสบดีที่ 20 ธันวาคม.
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ทิศทางเศรษฐกิจไทยภายใต้ความไม่แน่นอนปี 2554
อนาคตเศรษฐกิจประเทศไทย
แนวทางการมีส่วนร่วมของกรมฯ การปฏิบัติของจังหวัด
1 การพัฒนาความร่วมมือทางการเงิน ในภูมิภาคและโครงสร้างระเบียบ การเงินของโลก เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะ วิกฤติทางการเงิน ฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ และ ปกรณ์
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
มาตรฐานสากลของระบบคุ้มครองเงินฝาก
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
การพัฒนาทุนโทรคมนาคม โดยสหายสิกขา. ลักษณะทั่วไปของทุนไทยช่วงหลัง สงครามโลกครั้งที่สอง พึ่งพาเงินทุนและเทคโนโลยีการผลิตจากต่างประเทศ โดยเฉพาะญี่ปุ่น Key.
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
อนาคตเศรษฐกิจไทย ก้าวไกลสู่ตลาดทุน
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
Creative Accounting
Home Builder Industrial. จุดเด่นของธุรกิจรับ สร้างบ้าน ธุรกิจที่ไม่ได้อาศัยเงินลงทุนสูง เข้ามาดำเนินธุรกิจง่าย ตอบสนองความต้องการของ ผู้บริโภค แบบบ้านที่สามารถ.
บทที่ 1 หลักการและโครงสร้างของภาษีอากร
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กระชุ่มกระชวย (1986-1995) ทศวรรษแห่งการเติบโตสูงสุด : เฉลี่ย 9% ต่อปี (เกินปีละ 10% ใน 1988 -90) ราคาน้ำมันโลกลดฮวบในปี 1986  การขาดดุลและอัตราเงินเฟ้อลดลงด้วย

กระชุ่มกระชวย (1986-1995) อัตราดอกเบี้ยโลกลดลง  บรรเทาภาระการจ่ายคืนหนี้ต่างประเทศ เงินเยนญี่ปุ่นเพิ่มค่า (Plaza Accord ใน 1985)  เงินลงทุนไหลทะลักจากญี่ปุ่นและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (Newly Industrializing Economies หรือ NIEs)

กระชุ่มกระชวย (1986-1995) การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมสูงขึ้นมาก + รายได้จากการท่องเที่ยวและแรงงานไทยในต่างประเทศ + มูลค่านำเข้าน้ำมันลดลง  ลดการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดจนถึงปี 1989 แต่ขาดดุลเพิ่มขึ้นอีกภายหลัง

กระชุ่มกระชวย (1986-1995) นโยบาย “ปรับโครงสร้าง” โดยอาศัยเงินกู้และความช่วยเหลือจากธนาคารโลกและ IMF: ส่งเสริมการส่งออก (โดยเฉพาะสินค้าอุตสาหกรรม) และการลงทุนในต่างจังหวัด

กระชุ่มกระชวย (1986-1995) นโยบาย “ปรับโครงสร้าง” : วินัยการคลังและการควบคุมการก่อหนี้ การลดอัตราภาษีนำเข้า การลดเงินอุดหนุนราคาน้ำมันและการลอยตัวราคาน้ำมัน

กระชุ่มกระชวย (1986-1995) นโยบาย “ปรับโครงสร้าง” : การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ การขายหรือยุบกิจการ (เช่น โรงกระสอบ) การขายหุ้นบางส่วนในตลาดหลักทรัพย์ (เช่น การบินไทย)

กระชุ่มกระชวย (1986-1995) นโยบาย “ปรับโครงสร้าง” : การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ การให้สัมปทานแก่เอกชนในกิจการโทรศัพท์ ท่าเรือ ทางด่วน โรงไฟฟ้า ประปา การปฏิรูปภาษี: เริ่มใช้ภาษีมูลค่าเพิ่ม

กระชุ่มกระชวย (1986-1995) สาขาอุตสาหกรรมที่เน้นการส่งออกมากขึ้น: การย้ายฐานการผลิตจากญี่ปุ่นและ NIEs: สิ่งทอ อีเล็กทรอนิกส์ รองเท้า ของเด็กเล่น นาฬิกา เลนส์ ชิ้นส่วนยานยนต์

กระชุ่มกระชวย (1986-1995) สาขาอุตสาหกรรมที่เน้นการส่งออกมากขึ้น: มูลค่าการส่งออกสินค้าอีเล็กทรอนิกส์ ชิ้นส่วนยานยนต์ และชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ เริ่มมากกว่าสิ่งทอและเกษตร

กระชุ่มกระชวย (1986-1995) สาขาอุตสาหกรรมที่เน้นการส่งออกมากขึ้น: ยังคงพึ่งพาการนำเข้าชิ้นส่วน วัตถุดิบ และเครื่องจักร (60% - 90% ของมูลค่าการผลิต)

กระชุ่มกระชวย (1986-1995) เปิดเสรีทางการเงินในช่วงต้นทศวรรษ 1990’s เพื่อหวังเป็นศูนย์กลางการเงินของภูมิภาค: ยกเลิกเพดานดอกเบี้ย ผ่อนคลายการควบคุมการไหลของทุนและการแลกเปลี่ยนเงินตรา

กระชุ่มกระชวย (1986-1995) เปิดเสรีทางการเงินในช่วงต้นทศวรรษ 1990’s: กิจการวิเทศธนาคาร (Offshore banking หรือ Bangkok International Banking Facility BIBF) เพื่อส่งเสริมการไหลของเงินระหว่างประเทศอย่างเสรี

กระชุ่มกระชวย (1986-1995) เปิดเสรีทางการเงินในช่วงต้นทศวรรษ 1990’s: อนุญาตให้ธนาคารและบริษัทกู้เงินจากต่างประเทศได้ การเก็งกำไรในอสังหาริมทรัพย์และตลาดหุ้น  “ฟองสบู่” Econ Change Boom_thai

กระชุ่มกระชวย (1986-1995) เปิดเสรีทางการเงินในช่วงต้นทศวรรษ 1990’s: อนุญาตให้ธนาคารและบริษัทกู้เงินจากต่างประเทศได้ การเก็งกำไรในอสังหาริมทรัพย์และตลาดหุ้น  “ฟองสบู่” Econ Change Boom_thai

กระชุ่มกระชวย (1986-1995) Peter Warr: ในช่วงเศรษฐกิจบูม มากกว่าครึ่งของการขยายตัวมาจากการเพิ่มปริมาณทุน (ทั้งจากภายในและนอกประเทศ) ทุนไหลเข้าระยะสั้นมีความสำคัญมากกว่าการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment หรือ FDI)

กระชุ่มกระชวย (1986-1995) ธปท. ใช้นโยบายอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ (fixed ER) และ sterilization  อัตราดอกเบี้ยที่สูง  การเพิ่มค่าเงินบาทมากเกินไป  ดึงดูดเงินทุนไหลเข้าระยะสั้น (ซึ่งมีมูลค่ามากกว่าเงินทุนสำรองฯ ตั้งแต่ปี 1994 เป็นต้นมา)