เศรษฐศาสตร์มหภาค EC 312 บทนำ: Introduction

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
Advertisements

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
บทที่ 4 รายได้ประชาชาติ National Income.
การคลังและนโยบาย การคลัง
บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363 Gender Economics
กระชุ่มกระชวย ( ) ทศวรรษแห่งการเติบโตสูงสุด :
บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
โดย ณรงค์ชัย อัครเศรณี, Ph.D.
การกำหนดนโยบายการคลังและบูรณาการของ 4 หน่วยงานหลัก ( )
บทที่ 4 การแปรรูป และการผลิตสินค้าอาหาร
เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษาพฤติกรรม (behavior) ของหน่วยเศรษฐกิจแต่ละประเภท (individual economic units) ได้แก่ • ผู้บริโภค • แรงงาน • เจ้าของธุรกิจ.
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
MK201 Principles of Marketing
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
การใช้ประโยชน์จากข้อมูลการสำรวจ การเปลี่ยนแปลงประชากร
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิชา เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น Introduction to Economics Lecturer : Orasa Tuntiyawongsa Faculty of Applied Arts. KMITNB
บทที่ 8 นโยบายการคลัง(Fiscal Policy)
บทที่ 5 บัญชีรายได้ประชาชาติ
ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
การบริโภค การออม และการลงทุน
เงินเฟ้อ และเงินฝืด.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
กันยายน 2555 ผศ. ดร. ยุทธนา เศรษฐปราโมทย์
เศรษฐกิจไทยโดยนิด้าโมเดล: เงินเฟ้อ VS วิกฤตยูโร NIDA Macro Forecast
นโยบายและเป้าหมายในการบริหาร ระบบเศรษฐกิจ
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
 2005 Thailand Securities Institute (TSI), The Stock Exchange of Thailand 1.
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
LOGO. ส่วนประกอบของบัญชี รายได้ประชาชาติ NI Y = GDP GNPNNPNIGDPGNPNNPNI.
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ
3 ลักษณะของประเทศด้อยพัฒนาหรือกำลังพัฒนา
ทิศทางเศรษฐกิจไทยภายใต้ความไม่แน่นอนปี 2554
อนาคตเศรษฐกิจประเทศไทย
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ปวสปี 4 รหัส หมวดวิชาชีพพื้นฐาน เรื่องการค้าระหว่างประเทศ
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
ต้นทุนการผลิต.
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
บทที่ 2 รายได้ประชาชาติ
บทที่1 การบริหารการผลิต
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ความหมายของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
INB3202 การจัดการการเงินระหว่างประเทศ
การจัดการงานคลังและงบประมาณ ครั้งที่ 5 อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
การจัดการงานคลังและงบประมาณ อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เศรษฐศาสตร์มหภาค EC 312 บทนำ: Introduction อ. สกนธ์ วรัญญูวัฒนา

อะไรคือเศรษฐศาสตร์ “Study of mankind in the ordinary business of life; it is Examines that part of individual and social action which is most closely connected with the attainment and with the use of the material requisites of well-being” Alfred Marshall

อะไรคือเศรษฐศาสตร์มหภาค “คือการศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจในภาพรวม (Aggregate Economy)” ปัจจัยที่จะต้องให้ความสำคัญศึกษาได้แก่ ผลผลิตรวม Total Output ระดับราคา Price level การจ้างงาน Employment อัตราดอกเบี้ย Interest Rate อัตราค่าจ้าง Wage Rates อัตราแลกเปลี่ยน Foreign Exchange ฯลฯ

การศึกษาเศรษฐศาสตร์มหภาค ศึกษาผลกระทบหรือปัจจัยต่างๆ ที่มีต่อการกำหนดระดับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐศาสตร์มหภาค(factors that Determine levels) เช่น การใช้จ่ายรัฐบาล ผลกระทบของปัจจัยเหล่านั้นในแต่ละช่วงเวลา (How the variables change over time) เช่นอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจ การศึกษาเศรษฐศาสตร์มหภาคจึงเป็นการเรียนรู้ด้านนโยบาย (Policy Oriented) เช่นนโยบายการคลัง-การเงินของรัฐบาล ตัวอย่างของนโยบายคือการเพิ่มการใช้จ่ายรัฐบาล การลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ของธนาคารกลาง

ความสนใจในเศรษฐศาสตร์มหภาค เศรษฐกิจโลก (World Economy) เศรษฐกิจอเมริกา (American Economy) เศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิค (Asia Economy)

ลำดับของการศึกษา Keynesian Economics Classical Economics Monetarism New Classical Economics Real Business Cycle Theory New Keynesian Theory

ตัวอย่างคำถามเศรษฐศาสตร์มหภาค การขยายตัวของเศรษฐกิจ (economic Growth) เสถียรภาพของเศรษฐกิจ (Economic Stability) ความสัมพันธ์ผลผลิต-การว่างงาน (Output-Unemployment Relationship) การเพิ่มขึ้นของระดับราคา (Increase in Price Level) การเพิ่มขึ้นของการว่างงาน (Increase of Unemployment Rate)

การวัดปัจจัยทางเศรษฐศาสตร์มหภาค (Measurement of Macroeconomic Variables) บัญชีรายได้ประชาชาติ (National Income Account) เหมือนการทำบัญชีภาคเอกชนในการประกอบกิจการที่ต้องแสดงรายการของสองด้านได้แก่ การผลิต (Production Side) แสดงการผลิตและการได้มาของรายได้หรือการขาย เช่นภาคเกษตร อุตสาหกรรม บริการ เป็นต้น รายได้ (Income Side) แสดงการกระจายของรายได้ที่เกิดขึ้นว่ามาจากขั้นตอนของการหารายได้อย่างใด เช่นรายได้ของภาคประมง อุตสาหกรรมรถยนต์

การผลิต (Production Side) การวัดขนาดที่นิยมใช้คือ ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (Gross Domestic Product: GDP) และ รายได้ประชาชาติ (Gross National Product: GNP)

รายได้ (Income Side) เป็นการวัดขนาดของรายได้ประชาชาติ (National Income) และรายได้ของประชาชนในประเทศ

ข้อด้อยของการใช้ GDP ไม่สามารถใช้วัดกิจกรรมนอกระบบเศรษฐกิจ (Non Economic Activities) เช่น แรงงานนอกระบบ แรงงานบ้าน การค้าขายที่ไม่ผ่านระบบตลาด เป็นต้น ไม่สามารถวัดกิจกรรมใต้ดิน (Underground Economy) เช่น การค้ายาเสพติดและสิ่งผิดกฎหมาย การพนัน เป็นต้น ไม่สามารถใช้วัดสวัสดิการของประชาชน (Welfare Measure) GDP เป็นเพียงการแสดงขนาดของระบบเศรษฐกิจ แต่ไม่ได้แสดงความกินดีอยู่ดีหรือคุณภาพชีวิตของประชาชน เช่นการไม่วัดความสุขการพักผ่อนของประชาชน แต่วัดรายได้ที่เกิดจากการท่องเที่ยว

ความสัมพันธ์ ของบัญชีรายได้ประชาชาติ GNP = GDP +/- ภาคต่างประเทศ NNP = GNP – ค่าเสื่อม (Depreciation) (Net National Product) (สะท้อนต้นทุนในการผลิต) NI = NNP– ภาษีทางอ้อม (National Income) (Transfer Payment) PI = NI – Corporate Tax + เงินโอน + เงินสมทบกองทุนฯ + ดอกเบี้ยรับ (Personal Income) PDI = PI – Personal Income Tax +/- เงินโอนต่างประเทศ (Personal Disposable Income)

การวัดในรูปของมูลค่าแท้จริง (real) และมูลค่าปัจจุบัน (Nominal) Nominal GDP คือมูลค่า GDP ในปีปัจจุบันตามราคาตลาดที่รวมมูลค่าที่เกิดจากการเพิ่มหรือลดของสินค้าบริการที่ผลิตขึ้นในปีนั้น และยังรวมการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการความผันผวนของราคา GDP = จากการผลิต X ของราคา Real GDP คือการคิดหาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการเพิ่มของปริมาณสินค้าและบริการเท่านั้น

การหาค่า มูลแท้จริงของ GDP (Real GDP) โดยการเปรียบเทียบกับปีใดปีหนึ่งที่เลือกมาเป็นปีฐาน (Base Year) เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบ ดูตัวอย่าง ปี Nominal Real Implicit GDP GDP GDP Deflator 1979 2,566.4 4,912.1 52.2 2,795.6 4,900.9 57.0 1990 5,803.2 6,707.9 86.5 1996 7,813.2 7,813.2 100.0 8,781.5 8,508.9 103.2 2001 10,082.2 9,215.9 109.4 2002 10,446.2 9,439.9 110.7

อะไรคือ Implicit GDP Deflator คือสัดส่วนระหว่าง Nominal GDP และ Real GDP GDP Deflator = Nominal GDP Real GDP ดังนั้น Real GDP = Nominal GDP GDP Deflator

คำถามทบทวนท้ายเรื่อง อะไรคือความหมายของ GDP, NNP, NI, PDI สาเหตุอะไรที่ทำให้ NNP และ NI จึงแตกต่างกัน มูลค่าแท้จริง (Real) และมูลค่าปัจจุบัน (Nominal) แตกต่างกันอย่างไร