การเปรียบเทียบวิธีการ Multiplierless ในการประมวลผลสัญญาณดิจิตอล (Comparison of Multiplierless in Digital Signal Processing) นายคณาศักดิ์ ผาจันทร์ 4810611303.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Advertisements

การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
การศึกษาและประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีเชิง วิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูล เจเมทัล Study of Evolutionary Algorithm in Multi- objective on Library jMetal.
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
DSP 6 The Fast Fourier Transform (FFT) การแปลงฟูริเยร์แบบเร็ว
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. ดร. กานดา สายแก้ว
เครื่องบันทึกข้อมูลสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย Substation Data Logger
COE โปรแกรมการจัดทำตารางสอนสำหรับภาควิชา
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Chapter 1 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริธึมส์
เครื่องบันทึกข้อมูลสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย Substation Data Logger
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
ดิจิตอลและการออกแบบตรรก
ห้องลองเสื้อเสมือนโดยใช้ออคเมนต์เตดเรียลลิตี้
ระบบควบคุมวัตถุเสมือน Augmented Reality Object Manipulation System
PLC คืออะไร?           Programmable Logic Controller เครื่องควบคุมเชิงตรรกะ
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software design and development) 4 (3-2-6)
CHAPTER 18 FOURIER TRANSFORM
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
การวางแผนและการดำเนินงาน
แบบทดสอบก่อนเรียน วิชา โครงงานคอมพิวเตอร์
Combination Logic Circuit
Surachai Wachirahatthapong
น.ส.กฤติกา วงศาวณิช นายศุภชัย ตั้งบุญญะศิริ
การออกแบบโปรแกรมอย่างมีโครงสร้าง Structured Design
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
Thai Handwritten Character Recognition by Artificial Neural Networks
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
Thai Handwritten Character Recognition by Artificial Neural Networks
ให้ประหยัดการใช้หน่วยความจำ (space) ด้วยความรวดเร็ว (time)
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
ระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเลือกรถขนส่ง กรณีศึกษา บริษัทหาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) จุฑามาศ ผลประดิษฐ์
ระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเลือกรถขนส่ง
Waterfall model แบบจำลองน้ำตก
ผังงาน (Flowchart) มหาวิทยาลัยเนชั่น หลักการภาษาชุดคำสั่ง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 สัญลักษณ์ (Flowchart)
Basic Programming for AVR Microcontroller
ดิจิตอลเทคนิค 2 (3) (Digital Techniques)
พีชคณิตบูลีน และการออกแบบวงจรลอจิก (Boolean Algebra and Design of Logic Circuit)
Geographic Information System
ระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเลือกรถขนส่ง
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
ชื่อหัวข้อโครงงาน (ภาษาไทย) Project Title (English)
A Comparison on Quick and Bubble sort on large scale data
การจัดการฐานข้อมูล.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
หลักการแก้ปัญหา.
บทที่ 2 แนวคิดในการเขียนโปรแกรม. ขั้นตอนการ พัฒนาโปรแกรม ในการพัฒนาโปรแกรมมีขั้นตอนหลัก 5 ขั้นตอน ซึ่งไม่ว่าจะทำการพัฒนาโปรแกรม ครั้งใดจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอนเหล่านี้
บทที่ 7 การนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานอุตสาหกรรม
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
โครงสร้างข้อมูลและอังกอลิทึม
หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเปรียบเทียบวิธีการ Multiplierless ในการประมวลผลสัญญาณดิจิตอล (Comparison of Multiplierless in Digital Signal Processing) นายคณาศักดิ์ ผาจันทร์ 4810611303 ภาควิชาไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ภาพรวมในการนำเสนอ ที่มาของโครงงาน วัตถุประสงค์ของโครงงาน ขอบเขตของโครงงาน ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง งานส่วนที่ดำเนินการไปแล้ว

ที่มาของโครงงาน ในปัจจุบันได้มีการสร้างวิธีการ multiplierless ในการประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลขึ้นมาหลายวิธี โครงงานนี้ต้องการเปรียบเทียบวิธีการ multiplierless 5 วิธีกับตัวอย่างการใช้งานใน Discrete Cosine Transform แบบ 1 มิติ (1D-DCT) บนบอร์ด FPGA

วัตถุประสงค์ของโครงงาน เพื่อศึกษาถึงการคูณแบบ multiplierless ในการประมวลผลแบบดิจิตอล เพื่อทำการเปรียบเทียบวิธีการ multiplierless หลายๆ วิธีกับตัวอย่างการใช้งาน ในการแปลง Discrete Cosine แบบ 1 มิติ (1D-DCT) บนบอร์ด FPGA

ขอบเขตของโครงงาน ศึกษาหลักการ Multiplierless ศึกษาวิธีการแปลง 1D-DCT (One Dimension Discrete Cosine Transform) เปรียบเทียบการสร้าง 1D-DCT แบบ multiplierless ลงบนบอร์ด FPGA

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง MULTIPLIERLESS DCT CONVERSION BinDCT Lee’s fast forward DCT algorithm Forward AAN’s fast algorithm binDCT family based on Chen’s factorization BinDCT family based on Loeffler’s factorization FPGA(Field Programmable Gate Array)

MULTIPLIERLESS DCT CONVERSION : BinDCT BinDCT version A ที่มา : T. D. Tran, "The binDCT: fast multiplierless approximation of the DCT," Signal Processing Letters, IEEE, vol. 7, pp. 141-144, 2000.

MULTIPLIERLESS DCT CONVERSION : BinDCT BinDCT version B ที่มา : T. D. Tran, "The binDCT: fast multiplierless approximation of the DCT," Signal Processing Letters, IEEE, vol. 7, pp. 141-144, 2000.

MULTIPLIERLESS DCT CONVERSION : BinDCT BinDCT version C ที่มา : T. D. Tran, "The binDCT: fast multiplierless approximation of the DCT," Signal Processing Letters, IEEE, vol. 7, pp. 141-144, 2000.

MULTIPLIERLESS DCT CONVERSION : Lee's fast forward DCT algorithm อัลกอริทึมของ Lee’s fast forward DCT ค่าคงที่ C ทุกตัวแทนค่าด้วย ½ Lee’s fast forward DCT ที่มา : R. K. W. Chan and L. Moon-Chuen, "Multiplierless Fast DCT Algorithms with Minimal Approximation Errors," in Pattern Recognition,2006. ICPR 2006. 18th International Conference on, 2006, pp. 921-925.

MULTIPLIERLESS DCT CONVERSION : Forward AAN's fast ที่มา : R. K. W. Chan and L. Moon-Chuen, "Multiplierless Approximation of Fast DCT Algorithms," in Multimedia and Expo, 2006 IEEE International Conference on, 2006, pp.1925-1928.

MULTIPLIERLESS DCT CONVERSION : Forward AAN's fast โครงสร้าง butterfly (2b) แปลงมาจาก (2a), เขียนในรูปของโครงสร้าง lifting (2c) ที่มา : R. K. W. Chan and L. Moon-Chuen, "Multiplierless Approximation of Fast DCT Algorithms," in Multimedia and Expo, 2006 IEEE International Conference on, 2006, pp.1925-1928.

MULTIPLIERLESS DCT CONVERSION : binDCT family based on Chen's factorization binDCT family based on Chen's factorization Forward transform ที่มา : Jie Liang and Trac D. Tran,”Fast Multiplierless Approximations of the DCT  With the Lifting Scheme,”IEEE TRANSACTIONS ON SIGNAL PROCESSING, VOL. 49, NO. 12, DECEMBER 2001.

MULTIPLIERLESS DCT CONVERSION : binDCT family based on Chen's factorization SEVERAL CONFIGURATIONS OF BINDCT BASED ON CHEN’S FACTORIZATION ที่มา : Jie Liang and Trac D. Tran,”Fast Multiplierless Approximations of the DCT  With the Lifting Scheme,”IEEE TRANSACTIONS ON SIGNAL PROCESSING, VOL. 49, NO. 12, DECEMBER 2001.

MULTIPLIERLESS DCT CONVERSION : binDCT family based on Loeffler's factorization มีอัลกอลิทึมดังรูป binDCT family based on Loeffler's factorization ที่มา : Jie Liang and Trac D. Tran,”Fast Multiplierless Approximations of the DCT  With the Lifting Scheme,”IEEE TRANSACTIONS ON SIGNAL PROCESSING, VOL. 49, NO. 12, DECEMBER 2001.

MULTIPLIERLESS DCT CONVERSION : binDCT family based on Loeffler's factorization ค่าคงที่ทุกตัวในอัลกอริทึมสามารถดูได้จากตาราง FAMILY OF EIGHT-POINT BINDCTS BASED ON LOEFFLER’S FACTORIZATION ที่มา : Jie Liang and Trac D. Tran,”Fast Multiplierless Approximations of the DCT  With the Lifting Scheme,”IEEE TRANSACTIONS ON SIGNAL PROCESSING, VOL. 49, NO. 12, DECEMBER 2001.

FPGA (Field Programmable Gate Array) FPGA เป็นวงจรรวมทางดิจิตอลที่ผู้ใช้สามารถโปรแกรมวงจรหรือฟังค์ชันการ ทำงานลงไปภายในตัวชิฟได้เอง เหมาะสำหรับการออกแบบวงจรและการ ออกแบบชิฟต้นแบบของวงจรทางดิจิตอล เราสามารถออกแบบวงจร การ เชื่อมต่อและคุณสมบัติต่างๆด้วย Software ได้ จากนั้นเมื่อทดลอง Simulate ได้ผลน่าพอใจแล้วจึงโปรแกรมลงบนชิฟ FPGA จะเห็นว่าการแก้ไขทำได้ง่าย เพียงแก้บน Software (เสมือนอุปกรณ์ดิจิตอลอยู่ในรูปของ Software แก้ไขง่าย และแลกเปลี่ยนกันใช้ได้) และทำการโปรแกรมใหม่ (โปรแกรมซ้ำได้) สถาปัตยกรรมภายในของ FPGA แบ่งส่วนสำคัญๆ ออกเป็น 3 ส่วน คือ CLB (Configuration Logic Block) ใช้สำหรับทำเป็นวงจรโลจิกแบบคอม ไบเนชั่นนอลและแบบซีเควนเชียล IOB (Input Output Block) เป็นกลุ่มโลจิกบล็อกที่ทำหน้าที่สำหรับการเชื่อมต่อ กับวงจรภายนอก Interconnect ทำหน้าที่เป็นสายไฟที่ใช้เชื่อมต่อโลจิกบล็อกต่างๆ เข้าด้วยกัน

FPGA(Field Programmable Gate Array) : สถาปัตยกรรมของ FPGA สถาปัตยกรรมของ FPGA ตระกูล XC4000 ของบริษัท Xilinx ที่มา : www.rfid.thai.net/kitalo17/Slides/FPGA2000.pdf

FPGA(Field Programmable Gate Array) : โครงสร้าง Configuration Logic Block โครงสร้าง Configuration Logic Block ของ FPGA ตระกูล XC4000 ของบริษัท Xilinx ที่มา : www.rfid.thai.net/kitalo17/Slides/FPGA2000.pdf

FPGA(Field Programmable Gate Array) : โครงสร้าง I/O Block โครงสร้าง I/O Block ของ FPGA ตระกูล XC4000 ของบริษัท Xilinx ที่มา : www.rfid.thai.net/kitalo17/Slides/FPGA2000.pdf

งานส่วนที่ดำเนินการไปแล้ว ออกแบบแนวความคิดโครงงาน ออกแบบหลักการทำงานของการแปลง DCT ออกแบบขั้นตอนการออกแบบการแปลง DCT

แนวความคิดโครงงาน การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของวิธีการ multiplierless 5 วิธีกับตัวอย่างการ ใช้งานใน Discrete Cosine Transform แบบ 1 มิติ (1D-DCT) บนบอร์ด FPGA ทำการเปรียบ 2 ด้านได้แก่ ความซับซ้อนของระบบ จะดูจากโครงสร้างของภาษา VHDL ที่เขียนอธิบายลักษณะ ของอัลกอลิทึม ค่าความผิดพลาดของการเข้าและถอดหรัส จะดูในรูปของ PSNR (Peak Signal to Noise Ratio)

หลักการทำงานของการแปลง DCT ออกแบบโครงสร้างของระบบโดยการใช้ DCT แบบ 1 มิติ ที่ใช้อัลกอริทึมของ multiplierless ดังรูป หลักการทำงานของ 1D-DCT เนื่องจากข้อมูลที่จะนำมาทำการทดสอบเป็นข้อมูลรูปภาพ ซึ่งเป็นข้อมูลแบบ 2 มิติ จึงต้องทำการแปลง DCT แบบ 2 มิติ โดยมีหลักในการแปลงโดยใช้การแปลง DCT แบบ 1 มิติ กับข้อมูลตามแนวคอลัมน์ เมื่อเสร็จแล้วนำผลที่ได้มาแปลง DCT แบบ 1 มิติ อีกหนึ่งครั้งแต่เป็นตามแนวราบ ก็จะได้เป็นการแปลงแบบ 2 มิติ จึงต้อง ออกแบบโครงสร้างใหม่

หลักการทำงานของการแปลง DCT หลักการทำงานคือ จะส่งข้อมูลที่ต้องการแปลงจาก PC ผ่านทาง UART โดยส่ง ข้อมูลตามแนวคอลัมน์ แล้วทำการแปลง DCT แบบ 1 มิติ ส่งข้อมูลที่ทำการแปลง แล้วกลับไปเก็บไว้ที่ PC ส่งข้อมูลที่เก็บไว้ใน PC มาแปลง DCT แบบ 1 มิติ อีกครั้ง โดยส่งข้อมูลมาตามแนวราบ ก็จะได้เป็นการแปลงแบบ 2 มิติ ต่อมาในการทำ INVERSE DCT จะทำการแปลงเหมือนกับ FORWARD DCT แต่จะต้องกลับอัลกอ ลิทึม

ขั้นตอนการออกแบบการแปลง DCT ระบบการแปลง DCT แบบ 1 มิติ ด้วยอัลกอลิทึม multiplierless ออกแบบโดย การเขียนภาษา VHDL แล้วนำมาสังเคราะห์ลงชิพ FPGA โดยมีลำดับการ ออกแบบดังนี้ ขั้นตอนการเขียนภาษา VHDL เป็นขั้นตอนที่ใช้ภาษา VHDL มาอธิบายคุณลักษณะ ของวงจรในระบบ ขั้นตอนการจำลองการทำงาน ในขั้นตอนนี้เป็นการตรวจสอบการทำงานของวงจรใน ด้านฟังก์ชั่น โดยดูการทำงานของแต่ละวงจรก่อน แล้วจึงตรวจสอบการทำงานของ ระบบ ขั้นตอนการสังเคราะห์และลงอุปกรณ์จริง เป็นขั้นตอนสำหรับแปลงจากภาษา VHDL เป็นวงจรเกต และนำลงชิพ FPGA ขั้นตอนการทดสอบการทำงานของชิพ

END