องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ห้อง ฉุกเฉิน ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
Advertisements

เครือข่ายโรงเรียนเอกชน จังหวัดลำปาง วันจันทร์ที่ 2 ธันวาคม 2556
สื่อประกอบการเรียนรู้ เรื่อง ระบบย่อยอาหาร
เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ

หน่วยที่ 1 กระดูก เนื้อเยื่อ.
ของส่วนประกอบของเซลล์
การจัดกลุ่มโรคตามบัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 10
การสั่งการออกกำลังกาย (EXERCISE PRESCRIPTION)
การรักษาสมดุลร่างกาย Homeostasis
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
Electromyography (EMG) and Skeletal muscle contraction
BIOL OGY.
ต่อมไทรอยด์ คือ ต่อมไร้ท่อชนิดหนึ่งของร่างกาย อยู่บริเวณคอด้านหน้า, วางอยู่หน้าต่อหลอดลม ต่อมไทรอยด์ มีหน้าที่สร้างไทรอยด์ฮอร์โมน โดยใช้ ธาตุไอโอดีน.
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
ระบบประสาท (Nervous System)
โพรโทซัว( Protozoa ).
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
เฉลย หากสามารถค้นหาได้ภายในเวลา ๒๕ วินาทีนั่นแสดงว่า หากสามารถหาได้ในเวลา ๑ นาทีแสดงว่าสมองของนักเรียนพัฒนาตามปกติ
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
โครงสร้างในการแลกเปลี่ยนก๊าซของสิ่งมีชีวิต
ABC DEFG สาขาสัตว์ศาสตร์
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
โรคเอสแอลอี.
การจัดระบบในร่างกาย.
การบริบาลผู้สูงอายุ (CARE FOR ELDERLY).
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป 2
สารอาหารที่ถูกมองข้าม
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
เรื่อง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
การออกกำลังกาย (EXERCISE).
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
จัดทำโดย นางสาวสุกานต์ดา เสริมจันทร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
โครงสร้างระบบประสาท แบ่งตามตำแหน่งและโครงสร้างได้เป็น 2 ระบบ คือ 1. ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervousหรือ CNS) ได้แก่ สมองและไขสันหลัง 2. ระบบประสาทรอบนอก.
การผดุงครรภ์ไทย.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
สร้อยข้อมือพลังงาน พลังงาน กำไลเป็นเทคโนโลยีที่ออกแบบมาเพื่อทำงานร่วมกับร่างกายของคุณ ก่อตั้งขึ้นโดยนักกีฬา, สร้อยข้อมือพลังงานเป็นที่ชื่นชอบในหมู่นักกีฬายอดเยี่ยม.
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ระบบขับถ่าย กับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
บทปฏิบัติการที่ 16 ระบบการหายใจ (Respiratory System)
การบริหารการหายใจ เพื่อการคลายเครียด
บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
Class Monoplacophora.
Kingdom Plantae.
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
SELENIUM ซีลีเนียม.
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์ เนื้อหา 1.1 โครงสร้างร่างกายมนุษย์ 1.2 ระบบอวัยวะ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์ เนื้อหา 1.1 โครงสร้างร่างกายมนุษย์ 1.2 ระบบอวัยวะ

1.1โครงสร้างของร่างกาย ร่างกายของมนุษย์ประกอบขึ้นจากส่วนที่เล็กที่สุด คือ อะตอม ซึ่งยึดเข้ากันด้วยพันธะต่างๆเป็นโมเลกุล และโมเลกุลจะมีการจัดตัวรวมเป็นโครงสร้างของหน่วยย่อยที่สุดที่เป็นตัวกำหนดการดำรงชีวิตอยู่เราเรียกโครงสร้างนั้นว่า เซลล์

เซลล์เหล่านี้มีทั้งที่ทำหน้าที่เหมือนกันและแตกต่างกันออกไปแต่เซลล์ของร่างกายส่วนใหญ่ไม่ได้อยู่อย่างอิสระโดยกลุ่มของเซลล์ที่มีโครงสร้างหน้าที่และกำเนิดคล้ายกันจะยึดติดกันซึ่งพบว่าถ้าเซลล์เหล่านั้นทำหน้าที่เหมือนกันหรือทำหน้าที่อย่างเดียวกันจะรวมเรียกกลุ่มเซลล์นี้ว่า เนื้อเยื่อ

เนื้อเยื่อมี 4 ชนิดดังนี้ 1. เนื้อเยื่อบุผิว 2. เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน 3. เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ 4. เนื้อเยื่อประสาท

หากเนื้อเยื่อหลายๆเนื้อเยื่อทำงานหรือทำหน้าที่อย่างเดียวกัน จะเรียกกลุ่มของเนื้อเยื่อว่า อวัยวะ เช่น ปอด หัวใจ สมอง ตับ ม้าม เป็นต้นโดยจะมีหน้าที่ของตัวมันเอง และต้องทำงานประสานสัมพันธ์ซึ่งกันและกันซึ่งจะรวมเรียกระบบอวัยวะต่างๆที่ทำหน้าที่ประสานสัมพันธ์กันเหล่านี้ว่าเป็นร่างกาย

การทำงานของระบบต่างๆภายในร่างกายของคนเรานั้นจะต้องมีการประสานสัมพันธ์กันอยู่เสมอ ถ้าหากไม่ทำงานประสานสัมพันธ์กันแล้ว ย่อมเกิดปัญหาต่อการดำรงชีวิตอยู่อย่างแน่นอน

1.2 ระบบอวัยวะของร่างกาย ร่างกายของมนุษย์ประกอบด้วยโครงสร้างที่สลับซับซ้อนหลายระดับ ดังที่ได้กล่าวแล้วในเบื้องต้น โดยโครงสร้างต่างๆจะมีหน้าที่ของตนเองและในขณะเดียวกันก็มีความสัมพันธ์กับโครงสร้างต่างๆภายในร่างกายออกเป็นระบบอวัยวะต่างๆได้ดังนี้ 1 ระบบผิวหนังหรือระบบห่อหุ้มร่างกาย(integmentary system) 2 ระบบกระดูก (skeletal system) 3 ระบบกล้ามเนื้อ ( MUSCULAR SYSTEM ) 4 ระบบย่อยอาหาร ( Degestive system) 5 ระบบขับถ่ายปัสสาวะ( urinary system ) 6 ระบบหายใจ ( respiratory system) 7 ระบบไหลเวียนโลหิต ( vasculay systum ) 8 ระบบประสาท (nervous systum ) 9 ระบบสืบพันธุ์ (reproductive systum) 10 ระบบต่อมไร้ท่อ ( endocrine systum)