เหตุผลวิบัติ E - L e a r n i n g เหตุผลวิบัติ ( fallacies )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพูด.
Advertisements

วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
ประเภทและระดับ ของการสื่อสาร
โครงสร้างทางคณิตศาสตร์และการให้เหตุผล (Mathematical Structure and Reasoning) Chanon Chuntra.
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
บทเรียนโปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
บันทึกการประชุม บันทึกการประชุมมีปัญหาในเรื่องของการจะบันทึกการประชุม เป็นการจดแจ้งจากข้อเท็จจริงที่ปรากฎในการประชุม เพราะฉะนั้นการประชุมจะแต่งเติม เพิ่มแสดงความคิดเห็นเพิ่มอะไรลงไปไม่ได้
การสัมภาษณ์ อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
รายงานการวิจัย.
การสังเกต อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การติดต่อสื่อสาร สร้างสรรค์ประโยชน์ สร้างความประทับใจที่ดี
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Tuesdays with Morrie & หลายชีวิต
คนลักษณ์ห้า นักสังเกตการณ์
การศึกษารายกรณี.
สรุปภาพรวมของหน่อยการเรียนรู้
การพัฒนาการปิด การเจรจาต่อรอง
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
การคิดและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
คำแนะนำในการตอบข้อสอบ
6. การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ. มาตรฐานความ ประพฤติ การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ มาตรฐานความ ประพฤติ 7. การทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน.
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 5.
แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 14.
1 3 - Part 7 แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินหลังเรียน.
เนื้อหาปกติ : การชักจูงโน้มน้าว
การจัดกระทำข้อมูล.
การเฝ้าระวังกับนโยบายสังคม
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
Chapter8 การบัญชีและการวิเคราะห์งบการเงิน
การเก็บรวบรวมพยานหลักฐานดำเนินคดีฝ่าฝืนกฎหมายสุรา และยาสูบ
การเขียนรายงานการวิจัย
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
ศิลปะการพูดในที่ชุมชน
บทที่ 4 การศึกษาตนเอง By chotika thamviset.
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
การสั่งการและ การมอบหมายงาน
ความหมายของการวิจารณ์
การรับฟังพยานหลักฐาน
กระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี
บทบาทสมมติ (Role Playing)
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
“การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข”
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
คำอธิบายรายวิชา ศึกษา วิเคราะห์ในเรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส จำนวนตรรกยะ จำนวนอตรรกยะ รากที่สอง รากที่สาม การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและการนำไปใช้
เทคนิคการให้คำปรึกษา
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
บทที่ 7 การวิจัยเชิงสืบเสาะ : การวิจัยเชิงคุณภาพ
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เหตุผลวิบัติ E - L e a r n i n g เหตุผลวิบัติ ( fallacies ) นักตรรกวิทยาได้ให้ความหมายของเหตุผลวิบัติไว้ว่า หมายถึง “ ความผิดพลาดในการใช้เหตุผล (Reasoning) หรือ ในการอ้างเหตุผล (Argument) ” หรือ หมายถึง “ ลักษณะของการอ้างเหตุผลที่ไม่ถูกต้อง ” ประทีป มากมิตร E - L e a r n i n g

เหตุผลวิบัติ E - L e a r n i n g การอ้างอำนาจ (Appeal to Force) เป็นการอ้างเหตุผลที่ไม่ถูกต้องอันเนื่องมาจากผู้อ้างใช้วิธีข่มขู่ทั้งทางร่างกายหรือจิตใจเป็นสาเหตุให้ผู้อ่านหรือผู้ฟังเกิดความกลัวจนต้องยอมรับบทสรุป ข่มขู่ ผู้อ้าง ผู้อ่าน / ผู้ฟัง บทสรุป ประทีป มากมิตร E - L e a r n i n g

เหตุผลวิบัติ E - L e a r n i n g การอ้างความสงสาร (Appeal to Pity) คือลักษณะการอ้างเหตุผลที่ผู้อ้างขอความเมตตาสงสารจากผู้อ่านหรือผู้ฟัง เพื่อให้ยอมรับในบทสรุปแทนที่จะยกข้ออ้างที่มีเนื้อหาถูกต้องและเพียงพอ ขอความเมตตาสงสาร ผู้อ้าง ผู้อ่าน / ผู้ฟัง บทสรุป ประทีป มากมิตร E - L e a r n i n g

เหตุผลวิบัติ E - L e a r n i n g การอ้างแบบย้อนบุคคล (Argument Against the Person) คือ ลักษณะ การอ้างเหตุผลที่บกพร่องที่เกิดขึ้นจากผู้อ้าง 2 คน คนหนึ่งอ้างเหตุผล แต่อีกคนหนึ่งแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบ โดยไม่เกี่ยวกับการอ้างเหตุผล แต่มุ่งไปที่ตัวบุคคล ซึ่งอาจจะเกี่ยวกับความประพฤติหรือคำพูดของคนๆ นั้น โจมตี ผู้อ้างที่ 1 ผู้อ้างที่ 2 ปฏิเสธ เสนอ การอ้างเหตุผล ประทีป มากมิตร E - L e a r n i n g

เหตุผลวิบัติ E - L e a r n i n g การอ้างบุคคล (Appeal to Authority) เป็นเหตุผลวิบัติที่เกิดขึ้นเมื่อมีการนำเอาพยานหลักฐาน ได้แก่ บุคคลหรือเอกสารที่ไม่เกี่ยวข้องหรือไม่เหมาะสมกับประเด็นที่กล่าวถึง มาใช้เป็นข้ออ้างหรือหลักฐานเพื่อให้เกิดการยอมรับในสิ่งที่ผู้อ้างต้องการ อ้าง ผู้อ้าง บุคคลที่ไม่เหมาะสม บทสรุป ประทีป มากมิตร E - L e a r n i n g

ไม่มีอะไรรู้อย่างแน่นอนเกี่ยวกับ X เหตุผลวิบัติ การอ้างความไม่รู้ (Appeal to Ignorance) เหตุผลวิบัติลักษณะนี้เกิดขึ้นเมื่อข้ออ้างของการอ้างเหตุผลไม่สามารถบอกได้อย่างแน่ชัดเกี่ยวกับสิ่งนั้น แต่บทสรุปกลับสรุปอย่างแน่ชัดต่อสิ่งนั้น ส่วนใหญ่จะอ้างถึงสิ่งที่ไม่สามารถพิสูจน์ได้ ไม่มีอะไรรู้อย่างแน่นอนเกี่ยวกับ X = ข้ออ้าง = บทสรุป รู้เกี่ยวกับ X ประทีป มากมิตร E - L e a r n i n g

ข้ออ้าง (กรณีเฉพาะต่างๆ ที่ไม่ใช่เป็นตัวแทน) เหตุผลวิบัติ การรีบสรุป (Hasty Generalization) เหตุผลวิบัติลักษณะเกิดขึ้นเมื่อข้ออ้างนั้นไม่เป็นตัวแทนสมาชิกที่เพียงพอสรุปได้ เนื่องจากข้ออ้างมีปริมาณน้อยเกินไปหรือไม่เพียงพอที่จะนำไปสู่การยอมรับบทสรุปได้ ข้ออ้าง (กรณีเฉพาะต่างๆ ที่ไม่ใช่เป็นตัวแทน) ลงความเห็น บทสรุป (กรณีทั่วไป) ประทีป มากมิตร E - L e a r n i n g

สงสัยว่าจะเป็นสาเหตุ ไม่ได้เป็นสาเหตุที่แท้จริง เหตุผลวิบัติ การอ้างสาเหตุผิด (False Cause) เหตุผลวิบัติลักษณะนี้เกิดขึ้นเมื่อข้ออ้างอาศัยความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของเหตุการณ์เพื่อนำไปสู่บทสรุป แต่ปรากฏว่าข้ออ้างไม่ใช่สาเหตุที่แท้จริงที่จะนำไปสู่บทสรุปได้ = ข้ออ้าง สงสัยว่าจะเป็นสาเหตุ = บทสรุป ไม่ได้เป็นสาเหตุที่แท้จริง ประทีป มากมิตร E - L e a r n i n g

เหตุผลวิบัติ E - L e a r n i n g = = หลงประเด็น (Miss the Point) เหตุผลวิบัติลักษณะนี้เกิดขึ้นเมื่อบทสรุป ของการอ้างเหตุผลไม่มีความสัมพันธ์กับข้ออ้าง กล่าวคือข้ออ้างที่ปรากฎนำไปสู่ข้อสรุปเฉพาะเรื่องหนึ่งแต่เวลาสรุปกลับไปสรุปอีกเรื่องหนึ่ง = ข้ออ้าง นำมาซึ่งบทสรุป A = บทสรุป สรุป B ประทีป มากมิตร E - L e a r n i n g

เหตุผลวิบัติ E - L e a r n i n g ข้ออ้างเลือก (False Dichotomy) เหตุผลวิบัติลักษณะนี้เกิดขึ้นเมื่อผู้อ้างพยายามหลอกผู้อ่านหรือผู้ฟังให้เลือกในข้ออ้างที่กำหนดไว้ แล้วสรุปโดยความจำเป็นตามที่ผู้อ้างต้องการ ความบกพร่องในการอ้างเหตุผลนี้อยู่ที่ผู้อ้างพยายามจะลวงให้คิดว่าข้ออ้างไม่มีทางเลือกอื่นให้พิจารณาอีกแล้ว เช่น “ คุณจะซื้อเสื้อกันหนาวตัวใหม่ให้ฉัน หรือ คุณจะให้ฉันตายเมื่อหน้าหนาวมาถึง ” ประทีป มากมิตร E - L e a r n i n g

เหตุผลวิบัติ สรุป E - L e a r n i n g เพื่อไม่ให้เกิดกรณี เหตุผลวิบัติ เราควรพิจารณาในสิ่งต่อไปนี้ 1. พยานหลักฐาน หรือเหตุผลเพียงพอหรือไม่ 2. พยานหลักฐานสัมพันธ์กับข้อสรุปหรือไม่ 3. การอ้างเหตุผลนั้นใช้ภาษาชัดเจนหรือไม่ 4. ผู้อ้างใช้ความลำเอียง อารมณ์ หรือเลี่ยงประเด็น หรือไม่ ประทีป มากมิตร E - L e a r n i n g