การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

การเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
การวิเคราะห์ความเร็ว
การวิเคราะห์ความเร่ง
MTE 426 การวิเคราะห์ตำแหน่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1.
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
การแกว่ง ตอนที่ 2.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC.
การประยุกต์ใช้ปริพันธ์ Applications of Integration
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
ระบบอนุภาค.
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
เครื่องเคาะสัญญาณ.
Equilibrium of a Particle
ความหมายและชนิดของคลื่น
Vibration of Torsional Disks
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
คลื่นผิวน้ำ.
ผลของแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
ผศ.วิภาวัลย์ นาคทรัพย์ ภาควิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเคลื่อนที่เป็นวงกลม
งานและพลังงาน อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเคลื่อนที่แบบคาบ อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ซ่อมเสียง.
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
กิจกรรมชุดที่ 10 รู้จักแรงเสียดทาน.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
หน้า 1/8. หน้า 2/8 พลังงาน หมายถึง ความสามารถ ในการทำงาน ชึ่งถ้าหากพลังงานมาก ก็จะมี กำลังมาก การคิดถึงเรื่องเหล่านี้ เราจะเห็น ความสัมพันธ์ ที่เรียกว่า.
กิจกรรมชุดที่ 9 การวัดแรงโน้มถ่วง.
การรวมแรงที่กระทำต่อวัตถุ
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion) 1. ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลอาร์มอนิก การกระจัดของอนุภาคจากตำแหน่งสมดุล A คือ แอมพลิจูด (Amplitude)  คือ ความถี่เชิงมุม (Angular frequency) มีหน่วยเป็น เรเดียนต่อวินาที  คือ ค่าคงตัวเฟส (Phase constant) หมายถึง เฟสเริ่มต้น หรือ เฟสที่เวลา t = 0

กราฟระหว่างการกระจัดกับเวลา ของฟังก์ชันไซน์ เมื่อ  = /2  = /4  = 0

หรือ สรุปได้ว่า การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิก คือ การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงกลับไปกลับมารอบจุดสมดุลโดยที่ขนาดของความเร่งของอนุภาคจะแปรผันตรงขนาดของการกระจัด แต่มีทิศทางตรงกันข้าม

กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง x, v, a กับ t ของการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิก

2. ความสัมพันธ์ระหว่างการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิก และการเคลื่อนที่แบบวงกลม จุด P เป็นเงาของอนุภาคที่เคลื่อนที่เป็นวงกลม ซึ่งจะมีเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิก โดยที่

3. การเคลื่อนที่ของมวลที่ติดกับสปริง จาก และ ผลเฉลย คือ โดยที่ เรียกว่า ความถี่เชิงมุมของการสั่น พลังงานของการเคลื่อนที่ของมวลติดสปริง

4. ลูกตุ้มอย่างง่าย และ กรณีมุม  น้อย ๆ จะได้ ผลเฉลย คือ โดยที่ กรณีมุม  น้อย ๆ จะได้ ผลเฉลย คือ โดยที่ เรียกว่า ความถี่เชิงมุมของการแกว่ง พลังงานของการเคลื่อนที่ของลูกตุ้ม

5. พลังงานของซิมเปิลฮาร์มอนิก

ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิก ตัวอย่างที่ 1 เมื่อนำวัตถุมวล 500 กรัม ผูกติดกับปลายด้านหนึ่งของสปริงส่วนปลายอีกด้านหนึ่งตรึงไว้กับที่ ถ้าสปริงและวัตถุอยู่ในแนวราบบนพื้นตามแนวระดับและไม่คิดแรงเสียดทาน เมื่อดึงวัตถุให้สปริงยืดออกจากตำแหน่งสมดุลเป็นระยะ 10 เซนติเมตร กำหนดให้ค่าคงตัวของสปริงเป็น 50 N/m จงหา ก) แอมพลิจูด ข) ความถี่ของการสั่น ค) คาบของการสั่น ง) ความเร็วเมื่อเวลา 3/4 เท่าของคาบ ง) ความเร่ง ณ เวลา 3/4 เท่าของคาบ

ตัวอย่างที่ 2 จากรูปจงหาคาบและความถี่ของการสั่นของมวล m

กลับไปหน้าแรก กลับไปหัวข้อการเคลื่อนที่แบบต่างๆ