Conductors, dielectrics and capacitance

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
Advertisements

ลิมิตและความต่อเนื่อง
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
5.5 The Method of images เมื่อเราทราบว่าผิวตัวนำคือ ผิวสมศักย์ ดังนั้นถ้าอ้างอิงในผิวสมศักย์มีศักย์อ้างอิงเป็นศูนย์ จะสามารถหาศักย์ไฟฟ้าที่จุดใดๆ โดยใช้วิธีกระจก.
8.4 Stoke’s Theorem.
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
2.5 Field of a sheet of charge
Coulomb’s Law and Electric Field Intensity
Energy and Potential วัตถุประสงค์ ทราบค่าคำจำกัดความ “งาน” ในระบบประจุ
Vector Analysis ระบบ Coordinate วัตถุประสงค์
8.2 Ampere’s Law “อินทริกรัลเชิงเส้นของสนามแม่เหล็กรอบเส้นทางปิดใดๆมีค่าเท่ากับกระแสที่ผ่านเส้นทางปิดนั้น” สำหรับสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสเส้นตรงยาวอนันต์
4.5 The Potential Field of A System of Charges : Conservative Property
4.8 Energy Density in The Electrostatic Field
รอยต่อ pn.
การวิเคราะห์ความเร็ว
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
Welcome to Electrical Engineering KKU.
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
Chapter 8 The Steady Magnetic Field
9.7 Magnetic boundary conditions
5.9 Capacitance พิจารณาแผ่นตัวนำที่มีประจุอยู่และแผ่นตัวนำดังกล่าววางอยู่ในสาร dielectric ค่าควรจุของตัวเก็บประจุคือการนำเอาประจุที่เก็บสะสมหารกับความต่างศักย์ระหว่างสองแผ่นตัวนำ.
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
Electromagnetic Wave (EMW)
8. ไฟฟ้า.
โรงเรียนวัดปากน้ำฝั่งเหนือ
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
กระแส และ วงจรไฟฟ้ากระแสตรง
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
บทที่ 2 ศักย์ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าสถิตย์
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด?
กระแสไฟฟ้า Electric Current
เส้นประจุขนาดอนันต์อยู่ในลักษณะดังรูป
การจำแนกประเภทอุบัติเหตุของไอแอลโอ
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
แนวโน้มของตารางธาตุ.
งานและพลังงาน (Work and Energy).
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
สื่อการสอนเรื่องแรงบนตัวนำ
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
CHAPTER 4 Circuit Theorems
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
Second-Order Circuits
Chapter 3 Equilibrium of a Particle
Centrifugal Pump.
SUPERCONDUCTORS จัดทำโดย 1..
(Internal energy of system)
Touch Screen.
หม้อแปลง.
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) ความรู้พื้นฐานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
หน่วยที่ 1 บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
สนามไฟฟ้าและแรงทางไฟฟ้า
พันธะเคมี.
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
คำสั่ง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้อง โดยการคลิ้กเม้าหน้าตัวเลือกที่ถูกต้อง
หน้า 1/6. หน้า 2/6 กำลัง หมายถึง อัตราการทำงาน หรือ สิ่งที่บ่งบอกว่า งานที่ทำในเวลานั้น ๆ มีมาก น้อยเพียงไร การคิดจะคล้ายกับงาน นั่นคือ ถ้า เมื่อไรก็ตาม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Conductors, dielectrics and capacitance วัตถุประสงค์ ทราบถึงการนำพาประจุ (กระแส) จำแนกชนิดของวัสดุทางไฟฟ้า ทราบคุณลักษณะเฉพาะต่างๆ ของวัตถุทางไฟฟ้ารวมถึงเงื่อนไขขอบเขต ทราบและคำนวณ ค่าความจุของ C ได้

5.1 Current and Current Density อัตราการเปลี่ยนแปลงประจุเทียบกับเวลา คือ กระแสไฟฟ้า เมื่อพิจารณาประจุที่อยู่ในผิวปิด เมื่อประจุลดลงในผิวปิดเราจะถือว่ามีกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้น ( การลดลงของประจุบวกอาจแทนด้วยการเพิ่มขึ้นของประจุลบ ) ความหนาแน่นกระแส (current density) คือ เวกเตอร์ที่ชี้ถึงการนำพากระแส ซึ่งขนาดของมัน คือ ความเข้มของกระแสต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ ( A/m2 )

หรือ พิจารณา การนำพากระแสดังรูป

5.2 Continuity of Current กระแสที่พุ่งออกจากผิวปิด กระแสดังกล่าวเท่ากับอัตราการลดลงของประจุเมื่อเทียบกับเวลา ( การลดลงของประจุในผิวปิด )

5.3 Metallic Conductors เมื่อพิจารณาในรูปแบบโครงสร้างอะตอมอิเล็กตรอนที่โคจรอยู่รอบอะตอมจะโคจรอยู่ด้วยพลังงานยึดเหนี่ยวภายใน สำหรับ อิเล็กตรอนตัวสุดท้าย ( valence electron) จะมีพลังงานยึดต่ออะตอมน้อยที่สุด ถ้ามีพลังงานจำนวนหนึ่งเพียงพอที่จะสามารถดึงเอาอิเล็กตรอนตัวนี้ออกมาได้ จะถือว่ามีการหลุดของอิเล็กตรอน คือเกิดการนำไฟฟ้า

พิจารณา แถบพลังงานของวัสดุชนิดต่างๆ ดังนี้ พิจารณา ตัวนำ ( conductor ) อิเล็กตรอนในสนามจะมีแรง

อิเล็กตรอนดังกล่าวเคลื่อนที่ด้วยความเร็วลอยเลื่อน (drift velocity) คือ สภาพความคล่อง ( mobility ) คือ สภาพนำไฟฟ้า (Conductivity )

สำหรับตัวนำที่มีพื้นที่หน้าตัดสม่ำเสมอ สมมุติ ว่า เป็นสนามคงรูป ( uniform field)

สำหรับตัวนำที่มีพื้นที่หน้าตัดไม่สม่ำเสมอและ/หรือ สนามไม่คงรูป (no uniform)

5.4 Conductor properties and Boundary conditions ถ้ากล่าวถึงสภาวะไม่สถิต ถ้าสมมุติว่ามีประจุอยู่ในตัวนำ ประจุเหล่านั้นจะโดนผลักไปด้วยสนามไฟฟ้า ประจุเหล่านั้นจะโดนผลักไปที่ผิวของตัวนำ จนหมดเมื่อภายในไม่มีระบบประจุประจุ ภายในก็ย่อมมีสนามเป็นศูนย์ สนามไฟฟ้าภายในตัวนำยิ่งยวดจะมีค่าเป็นศูนย์ เนื่องจากไม่มีประจุใดๆอยู่ในตัวนำ ประจุจะอยู่เพียงบนผิวตัวนำเท่านั้น เมื่อมีประจุอยู่ที่ผิวของตัวนำอย่างเดียว ความสัมพันธ์ของสนามไฟฟ้าที่ผิว สามารถหาได้จาก เงื่อนไขขอบเขต ดังจะแสดงต่อไปนี้

เมื่อเลือกเส้นทางที่ คือเส้นทางที่แนบชิดกับพื้นผิวขอบเขต

นั่นคือสนามในแนวสัมผัสผิว เป็นศูนย์ และ Electric flux density แนวตั้งฉากกับผิว มีค่าเท่ากับ ความหนาแน่นประจุเชิงผิว เนื่องจากผิวตัวนำมีสนามเป็นศูนย์ ดังนั้น ผิวตัวนำคือ equipotential surface