การทดสอบสมมติฐานความแปรปรวนของหนึ่งประชากร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
Advertisements

การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
การทดสอบสมมติฐานสัดส่วนของประชากร
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
งานวิจัย ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มักเขียนผิด
การทดสอบสมมติฐานผลต่างของค่าเฉลี่ยของสองประชากร ที่เป็นอิสระต่อกัน
งานวิจัย เรื่อง ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มี รูปวรรณยุกต์กำกับ
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
นวัตกรรมการทดสอบความรู้เดิม
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การทดสอบสมมติฐาน
แบบฝึกหัด ในการสุ่มตัวอย่างนักศึกษา ปวส. ที่มีความวิตกกังวลในการเรียน จำนวน25 คนเป็นชาย 15 คน หญิง 10 คน ผลการสำรวจปรากฏดังนี้ อยากทราบว่านักเรียนชายละนักเรียนหญิงที่มีความวิตกกังวลในการเรียนต่างกันหรือไม่
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ สาระ ดนตรี เรื่อง การเรียนดนตรีพื้นบ้านของจังหวัดน่าน.
การสุ่มตัวอย่างและการแจกแจงกลุ่มตัวอย่าง
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ ( ฉบับที่ 3) ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 29 ธันวาคม.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ครูปพิชญา คนยืน. สถิติ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 7 ครูปพิชญา คนยืน จากฮิสโทแกรม แสดงค่าใช้จ่าย ต่อเดือนของ นักเรียน จงตอบคำถาม ต่อไปนี้
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1.
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร 2 ประชากร
ใช้เกมพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
การพัฒนาบทเรียนบนเว็บโดยใช้โครงงานเป็นฐาน รายวิชาระบบคอมพิวเตอร์เบื้องต้นและอัลกอริทึม Development of Web – based Instruction using Project - based Learning.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์โดยใช้ชุดการสอน ในรายวิชาสุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก ผู้วิจัย อาจารย์ปนัดดา วรกานต์ทิ
ครูโรงเรียนเมืองชลพณิชยการ จ. ชลบุรี
ผู้วิจัย จุฬารัตน์ มหาชัย
เรื่องระบบจำนวน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาหลักการจัดการของนักศึกษา สาขาวิชาการจัดการ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้บทเรียนมัลติมีเดียแบบ
นักศึกษาขาดทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ในด้านการจำแนกสาร และสมบัติของสาร นักศึกษาไม่สามารถจำแนกชนิด ของสารได้ นักศึกษาไม่สามารถบอกสมบัติของ สารชนิดต่างๆได้
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ที่ได้รับการสอนแบบ.
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทดสอบสมมติฐานความแปรปรวนของหนึ่งประชากร สถิติทดสอบ สมมติฐาน

ยอมรับ H0 ปฏิเสธ H0 ยอมรับ H0 ปฏิเสธ H0 ยอมรับ H0 ปฏิเสธ H0

ตัวอย่าง : สถานศึกษาแห่งหนึ่งรายงานการประเมินตนเองว่า นักเรียนใช้เวลาในการเรียนรู้ด้วยตนเอง (ชั่วโมงต่อสัปดาห์) ซึ่งมีการแจกแจงแบบปกติ มีความแปรปรวน 10000 ช.ม.2 จากการ ประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาแห่งนี้ โดย สมศ. ครั้งหนึ่ง โดยการสุ่มตัวอย่าง นักเรียนมา 20 คน พบว่าความแปรปรวนของเวลาในการเรียนรู้ด้วยตนเอง ของนักเรียน เท่ากับ 12000 ช.ม.2 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 จะกล่าวได้หรือไม่ว่า ความแปรปรวนของเวลา ในการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักเรียนไม่เท่ากับ 10000 ช.ม.2 สถิติทดสอบ

ยอมรับ H0 ปฏิเสธ H0 8.91 32.9 ยอมรับ H0

การทดสอบสมมติฐานความแปรปรวนของสองประชากร สถิติทดสอบ

ยอมรับ H0 ปฏิเสธ H0 ยอมรับ H0 ปฏิเสธ H0 ยอมรับ H0 ปฏิเสธ H0

ตัวอย่าง : ในการศึกษาประสิทธิภาพของโปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอร์ 2 โปรแกรม ผู้วิจัยได้ สุ่มเลือกนักเรียนมา 2 กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มเรียนรู้ด้วยตนเองจากโปรแกรมบทเรียน คอมพิวเตอร์ กลุ่มละ 1 โปรแกรม จากนั้นทำการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ได้ผลดังนี้ โปรแกรมที่ 1 : 3.3 3.7 3.5 4.1 3.4 3.5 4.0 3.8 3.2 3.7 โปรแกรมที่ 2 : 3.2 3.6 3.1 3.4 3.0 3.4 2.8 3.1 3.3 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 ผู้ศึกษาจะสรุปได้หรือไม่ว่าโปรแกรม 1 มีประสิทธิภาพดีกว่า โปรแกรม 2

ยอมรับ H0 ปฏิเสธ H0 5.91 ยอมรับ H0

แบบฝึกหัด : ในการศึกษาอายุการใช้งานของถ่านไฟฉาย 2 ตรา โดยสุ่มถ่านไฟฉายตราเพชร และ ตราดาวมาจำนวน 10 และ 21 ก้อน ตามลำดับ บันทึกการใช้งานได้ดังนี้ หน่วย:นาที ตราเพชร : 218 236 178 244 148 171 198 168 160 174 ตราดาว : 178 184 146 176 185 158 175 172 163 181 : 162 152 164 180 157 164 182 169 178 154 148 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 จงทดสอบว่าถ่านไฟฉายทั้งสองตรามีอายุการใช้งาน แตกต่างกันหรือไม่