การทดสอบสมมติฐานความแปรปรวนของหนึ่งประชากร สถิติทดสอบ สมมติฐาน
ยอมรับ H0 ปฏิเสธ H0 ยอมรับ H0 ปฏิเสธ H0 ยอมรับ H0 ปฏิเสธ H0
ตัวอย่าง : สถานศึกษาแห่งหนึ่งรายงานการประเมินตนเองว่า นักเรียนใช้เวลาในการเรียนรู้ด้วยตนเอง (ชั่วโมงต่อสัปดาห์) ซึ่งมีการแจกแจงแบบปกติ มีความแปรปรวน 10000 ช.ม.2 จากการ ประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาแห่งนี้ โดย สมศ. ครั้งหนึ่ง โดยการสุ่มตัวอย่าง นักเรียนมา 20 คน พบว่าความแปรปรวนของเวลาในการเรียนรู้ด้วยตนเอง ของนักเรียน เท่ากับ 12000 ช.ม.2 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 จะกล่าวได้หรือไม่ว่า ความแปรปรวนของเวลา ในการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักเรียนไม่เท่ากับ 10000 ช.ม.2 สถิติทดสอบ
ยอมรับ H0 ปฏิเสธ H0 8.91 32.9 ยอมรับ H0
การทดสอบสมมติฐานความแปรปรวนของสองประชากร สถิติทดสอบ
ยอมรับ H0 ปฏิเสธ H0 ยอมรับ H0 ปฏิเสธ H0 ยอมรับ H0 ปฏิเสธ H0
ตัวอย่าง : ในการศึกษาประสิทธิภาพของโปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอร์ 2 โปรแกรม ผู้วิจัยได้ สุ่มเลือกนักเรียนมา 2 กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มเรียนรู้ด้วยตนเองจากโปรแกรมบทเรียน คอมพิวเตอร์ กลุ่มละ 1 โปรแกรม จากนั้นทำการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ได้ผลดังนี้ โปรแกรมที่ 1 : 3.3 3.7 3.5 4.1 3.4 3.5 4.0 3.8 3.2 3.7 โปรแกรมที่ 2 : 3.2 3.6 3.1 3.4 3.0 3.4 2.8 3.1 3.3 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 ผู้ศึกษาจะสรุปได้หรือไม่ว่าโปรแกรม 1 มีประสิทธิภาพดีกว่า โปรแกรม 2
ยอมรับ H0 ปฏิเสธ H0 5.91 ยอมรับ H0
แบบฝึกหัด : ในการศึกษาอายุการใช้งานของถ่านไฟฉาย 2 ตรา โดยสุ่มถ่านไฟฉายตราเพชร และ ตราดาวมาจำนวน 10 และ 21 ก้อน ตามลำดับ บันทึกการใช้งานได้ดังนี้ หน่วย:นาที ตราเพชร : 218 236 178 244 148 171 198 168 160 174 ตราดาว : 178 184 146 176 185 158 175 172 163 181 : 162 152 164 180 157 164 182 169 178 154 148 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 จงทดสอบว่าถ่านไฟฉายทั้งสองตรามีอายุการใช้งาน แตกต่างกันหรือไม่