แอร์กับการคำนวณ... “ คุณรู้หรือไม่เครื่องปรับอากาศที่คุณใช้ในแต่ละวันนั้นสร้างปัญหาให้กับโลกและสิ่งมีชีวิต บนโลกอย่างไรบ้าง”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นิทานเรื่อง หมีกับคนเดินทาง
Advertisements

การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
โครงการรณรงค์การจัดการสิ่งแวดล้อม
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
พ่อกับลูก ท่ามกลางหิมะ อันเหน็บหนาว สิ่งที่ปกป้องความเย็นให้กับลูกน้อย
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ภาวะโลกร้อน นายอัศวิน สมบูรณชนะชัย คณะอุตสาหกรรมเกษตร ปี2.
วิธีการช่วยป้องกัน สภาวะโลกร้อน.
10วิธีลดภาวะโลกร้อน จัดทำโดย
Global Warming.
ลดโลกร้อน ด้วยมือเรา.
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
ผลกระทบจากวิกฤตการโลกร้อน
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
โครงงานสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพบริเวณป่าชายเลนบ้านอำเภอ
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
แผ่นดินไหว.
6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.
โดย นางภัทรา คำสีทา ตำแหน่ง ครู ค.ศ.๑ โรงเรียนนาด้วงวิทยา
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
ระเบิดเวลาที่รอวันปะทุ
ระเบิดเวลาที่รอวันปะทุ
การละลายของธารน้ำแข็งและภาวะน้ำท่วม
นิทาน เรื่อง มดน้อยแทนคุณ
ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว.
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
หยุดโลกร้อนด้วยชีวิตพอเพียง
1.ใช้ถ่านไฟฉายที่สามารถบรรจุไฟได้ใหม่
ข้อคิดการใช้ชีวิต บรู๊ซลี.
ถัดไป. ภาวะโลกร้อน หมายถึง ภาวะที่อุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกสูงขึ้น ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง ถัดไ ป.
แนวคิดและพฤติกรรมนักท่องเที่ยว
การลดปัญหาขยะในบริเวณโรงเรียนและการส่งเสริมการลดภาวะโลกร้อน จัดทำโดย นายปรีชา สลางสิงห์ นางสาวฐิติมา ขุมเงิน นางสาวกกมลทิพย์ วรโยธา โรงเรียนคำสร้อยพิทยาสรรค์
สื่อการเรียนรู้เรื่อง หยุดโลกร้อนด้วยความพอเพียง
ดินถล่ม.
เรื่อง เดินตามรอยเท้าพ่อหลวง
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
Welcome to. โลกร้อน คืออะไร ? ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศ เปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราใน ปัจจุบัน สังเกตได้จาก.
โลก ร้อน. จำนวนพายุ เฮ อริเคน ที่มีความ รุนแรงมากระดับ 4 และ 5 เพิ่มขึ้น สองเท่า ใน สามสิบปีที่ผ่าน มา.
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ชั้นบรรยากาศ จัดทำโดย เด็กหญิงธรณ์ธันย์ นวชัย ชั้น ม.1/4 เลขที่ 11
ดาวศุกร์ (Venus).
ชื่อเรื่อง วัฏจักรของน้ำ จัดทำโดย เด็กชาย โชคชัย คำมะยอม เลขที่ 37 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 เสนอ อ.อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร สารบัญ.
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
คลิกที่ตัวผมได้เลย!! ณ ดวงดาวแห่งหนึ่ง....
จิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงาน
ผู้นำเสนอข่าว นายขจรยศ ชัย สุรจินดา. 3 วันที่แล้ว โครงการสิ่งแวดล้อมของ สหประชาชาติ ( ยูเนป ) ออกรายงานฉบับ ใหม่เกี่ยวกับสถานการณ์น้ำแข็งและหิมะ ของโลก.
“คำพูดคุณครู”.
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต จัดทำโดย นายก้องเกียรติ์ ดีเลิศ.
แนวโน้มของเทคโนโลยีที่ น่าจะมีใช้ในอนาคต
จัดทำโดย นายธนิต เหลืองดี ความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกที่เกิดขึ้นใน ปัจจุบัน เป็นสิ่งที่คนในสังคมโลก ยังให้ความสนใจไม่มากนักและที่สำคัญ คือ ยังมีคนจำนวนมาก.
สภาวะโลกร้อน ร้อน จัดทำโดย นายอรรถพล เพ็งพันธ์. ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดสภาวะโลกร้อน ซี่งปรากฏการณ์ทั้งหลายเกิดจากภาวะโลกร้อนขึ้นที่มีมูลเหตุมา จากการปล่อยก๊าซพิษต่าง.
ภาวะโลกร้อน.
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง น้ำแข็งขั้วโลกละลาย
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่ สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ภาวะโลกร้อน.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
5 ข้อไม่ควรปฏิบัติเกี่ยวกับการ "นอน"
ข้อคิดการใช้ชีวิต บรู๊ซลี.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ภาวะโลกร้อนเป็นภัยพิบัติที่มาถึง โดยที่เราทุกคน ต่างทราบถึงสาเหตุของการเกิดเป็นอย่างดี นั่นคือ การที่มนุษย์เผาผลาญเชื้อเพลิงฟอซซิล เช่น ถ่าน หิน น้ำมัน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แอร์กับการคำนวณ... “ คุณรู้หรือไม่เครื่องปรับอากาศที่คุณใช้ในแต่ละวันนั้นสร้างปัญหาให้กับโลกและสิ่งมีชีวิต บนโลกอย่างไรบ้าง”

รู้ไว้ใช่ว่า... นักเรียนทราบหรือไม่ว่าในแต่ละวันที่เราเปิดเครื่องปรับอากาศ 2 ตัว ต่อ 1 ห้อง ใช้วันละประมาณ 6 ชั่วโมง เป็นเวลา 180 วัน ของ 1 ปีการศึกษา เราใช้ไฟฟ้าประมาณ 350 ยูนิต ต่อปี แอร์จะปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาประมาณ 3 เท่า กล่าวคือ ประมาณ 1,050 กิโลกรัมต่อหนึ่งปี นั่นเอง

แล้วเราจะทำอย่างไรเมื่อมี CO2 มากขนาดนั้น เพื่อป้องกันมิให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากเกินไป วิธีที่จะลดก๊าซเหล่านั้นก็คือ การปลูกต้นไม้นั่นเอง มีผู้กล่าวไว้ว่า ต้นไม้หนึ่งต้นนั้นสามารถดูดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ ปีละ 9-22 กิโลกรัม ขึ้นอยู่กับชนิดและขนาดของต้นไม้นั้น คิดแบบแย่ที่สุดแล้วหาก 1 ต้น ดูดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 9 กิโลกรัม/ปี แค่แอร์ 1 ห้อง เราควรจะปลูกต้นไม้ทดแทนคนละกี่ต้น?

10 กันยาที่ผ่านมา! จากการที่นักเรียน ของเราส่วนหนึ่งได้ไปร่วมปลูกป่าเพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติแด่องค์ในหลวงนั้น มีผลต่อเราอย่างไรบ้าง ในวันนั้นเราได้ปลูกต้นไม้ไปประมาณ 55 ต้น ใน 1 ต้น ก็จะสามารถ ดูดก๊าซได้ประมาณ 9 กิโลกรัม คิดโดยคร่าวๆต้นไม้ 1 ต้นมีอายุประมาณ 40 ปี คิดแล้วจากที่เราปลูกไปสามารถดูดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ถึง 55409 เท่ากับ19,800 กิโลกรัมเลยทีเดียว

อย่าเพิ่งดีใจไปคนดี?? ที่เราคิดได้ว่าที่ปลูกไปดูดได้ถึง 19,800 กิโลกรัมนั้น มันก็เกินที่เราใช้ต่อปีเพียง 1,050 กิโลกรัมเท่านั้น คุณลืมคิดไปหรือเปล่าว่า 1,050 กิโลกรัมนั้น เพียงห้องเรียนเพียง 1 ห้องต่อ 1 ปี แต่ที่ต้นไม้ดูดนั้นใช้ถึง 40 ปีเท่านั้น หากคิดเฉพาะที่โรงเรียนไผทอุดมศึกษาแล้ว เรามีห้องเรียนที่ใช้เครื่องปรับอากาศประมาณ 80 ห้อง ดังนั้นเฉพาะโรงเรียนเราปล่อยก๊าซออกมา ถึง 1,050  80 เท่ากับ 84,000 กิโลกรัมเลยทีเดียว คำถามที่ตามมาคือ 55 ต้นเพียงพอหรือไม่?

จิตสำนึกของแต่ละคน! เมื่อเราคำนวณเพียงคร่าวๆ เท่านี้แล้วจะเห็นได้ว่า ในแต่ละวันเราได้ทำลายโลกและทำลายตัวเราเองมากขนาดไหน นี่ยังไม่ได้คิดถึง บริษัท ห้างร้าน อื่นๆที่ใช้เครื่องปรับอากาศจำนวนมากๆ ซึ่งจะปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาจำนวนมหาศาล แต่เราได้ทำอะไรเพื่อเป็นการทดแทนบ้างหรือไม่?

เรามาปกป้องโลกกันเถอะ... หากเราทุกคนในที่นี้ร่วมกันปลูกต้นไม้เพียงคนละ 1 ต้น เราจะช่วยให้โลกน่าอยู่และสดใสได้ มากขึ้น เฉพาะในระดับมัธยมมีนักเรียนประมาณ 200 คน ปลูกคนละ 1 ต้น จะสามารถดูก๊าซได้ถึง 200  9 เท่ากับ 1,800 กิโลกรัม แต่ 1 ห้องปล่อยก๊าซ 1,050 กิโลกรัม ระดับมัธยมมี 6 ห้องเรียน คิดเป็น 6,300 กิโลกรัม ดังนั้น 200 ต้นที่นักเรียนปลูกนั้นยังไม่เพียงพอเลย แล้วเราควรจะปลูกกันคนละกี่ต้นดีหละ?

แล้วเจ้าคาร์บอนไดออกไซด์ มันแสบอย่างไร? นักเรียนเชื่อหรือไม่ว่าเหตุการณ์พายุเฮอร์รเคนแคทรีนาที่ถล่มอเมริกาเมื่อไม่กี่วันที่ผ่ามานั้น ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากเจ้าก๊าซชนิดนี้ เพราะจากที่เราใช้ก๊าซในแต่ละวัน และต้นไม้ดูดไปใช้ไม่หมดมันก็จะไปทำลายชั้นบรรยากาศของโลก ทำให้บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกบางลง ส่งผลให้โลกร้อนขึ้น น้ำแข็งบริเวณขั้วโลกละลาย น้ำในมหาสมุทรมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น ทำให้น้ำระเหยขึ้นไปบนบรรยากาศมาก ทำให้ก่อตัวเป็นเมฆฝนและก่อตัวพายุขนาดใหญ่

อนาคตของโลกจะเป็นเช่นไร? เมื่อน้ำในมหาสมุทรสูงขึ้น ประเทศที่เป็นเกาะหรืออยู่ติดกับทะเลก็จะถูกน้ำท่วม และจมหายไป เช่น อังกฤษ ญี่ปุ่น ออสเตรเลียเป็นต้น เมืองไทยจะถูกน้ำท่วมชายฝั่งของเราคือ จังหวัด เพชรบูรณ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ นั่นเอง ดูแล้วนักเรียนอาจจะบอกว่าอีกนาน แต่ถ้าหากเราไม่ช่วยรักษาสมดุลของธรรมชาติให้กลับมาให้เป็นปกติแล้ว เหตุการณ์ดังกล่าวคงอยู่ในช่วงชีวิตของนักเรียนอย่างแน่นอน

แล้ววันนี้คุณปลูกต้นไม้แล้วหรือยัง ด้วยความปรารถนาดีจาก ครูจุฑา พุทธนิมนต์ ครูชวนชม คงวุฒิ ครูพรเทพ พรมตา