การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้โปรแกรม SPSS ในการตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูล
Advertisements

การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
การทดสอบสมมติฐานสัดส่วนของประชากร
ความน่าจะเป็น Probability.
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การทดสอบสมมติฐานความแปรปรวนของหนึ่งประชากร
บทที่ 11 ระบบบัญชีต้นทุนการผลิตสินค้า
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
Assignment กำหนดส่ง ศุกร์ 12 ก.พ. 2553
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของประชากร
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
Sampling Distribution
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
บทที่ 1 อัตราส่วน.
เอกสารประกอบคำสอนอาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
การประมาณค่าทางสถิติ
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ผลของการเสริมวิตามิน บี 12 ต่อองค์ประกอบของไข่
การตรวจสอบข้อมูลทางอุทกวิทยา
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับลักษณะของข้อมูล
คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องและตั้งใจทำตามกำลังความสามารถของตนเอง ภายในเวลาที่กำหนดให้
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
โครงสร้างต้นทุนการผลิตและราคาขาย ณ โรงงานสุรา (สุรากลั่นชุมชน)
Menu Analyze > Correlate
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
การทดสอบสมมติฐาน
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
ครูสหรัฐ สีมานนท์. หัวข้อ การศึกษา 2. การประยุกต์พื้นที่ ภายใต้โค้งปกติ 1. พื้นที่ภายใต้โค้ง ปกติ
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
สถิติเบื้องต้นสำหรับงานระบาดวิทยา Statistics for Epidemiology
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
การแจกแจงปกติ.
ทบทวน ระดับของข้อมูลจากการวัด แบ่งได้ 4 ประเภท ดังนี้
การสุ่มตัวอย่างและการแจกแจงกลุ่มตัวอย่าง
วิจัย (Research) คือ อะไร
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
สถิติธุรกิจ BUSINESS STATISTICS.
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
ความหมายของวิทยาศาสตร์
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
Confidence Interval Estimation (การประมาณช่วงความเชื่อมั่น)
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1.
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร 2 ประชากร
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม

การทดสอบสมมุติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยของประชากร การทดสอบสมมุติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ย ลักษณะข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาต้อง มีลักษณะดังนี้ ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาจากประชากร มีลักษณะเป็นตัวแปรสุ่ม เป็นตัวอย่างข้อมูลที่ดี ตามหลักการเทคนิคการชักตัวอย่าง ลักษณะของข้อมูลต้องมีการแจกแจงปกติหรือใกล้เคียงการแจกแจงแบบปกติ ลักษณะข้อมูลเป็นข้อมูลเชิงปริมาณ หรือข้อมูลต่อเนื่อง มีระดับการวัดในสเกลอันตรภาค (Interval Scale) หรือ สเกลอัตราส่วน (Ratio Scale) โดยหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานได้

การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม เป็นการทดสอบว่าค่าเฉลี่ยของประชากรที่เราสนใจศึกษานั้น เป็นไปตามที่เราคาดไว้หรือไม่ โดยสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้

การตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม

การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยของประชากร 1 กลุ่ม แบ่งออกเป็น 3 กรณี ดังนี้ กรณีที่ 1 ประชากรมีการแจกแจงแบบปกติ และทราบความแปรปรวนของประชากร (ทราบ ) กรณีที่ 2 ไม่ทราบความแปรปรวนของประชากร แต่ขนาดตัวอย่างมีขนาดใหญ่ (ไม่ทราบ แต่ ) กรณีที่ 3 ไม่ทราบความแปรปรวนของประชากร แต่ขนาดตัวอย่างมีขนาดเล็ก (ไม่ทราบ แต่ )

กรณีที่ 1 ทราบความแปรปรวนของประชากร (ทราบ ) สถิติทดสอบ คือ

กรณีที่ 2 ไม่ทราบความแปรปรวนของประชากร แต่ตัวอย่างมีขนาดใหญ่ (ไม่ทราบ แต่ ) สถิติทดสอบ คือ

กรณีที่ 3 ไม่ทราบความแปรปรวนของประชากร แต่ตัวอย่างมีขนาดเล็ก (ไม่ทราบ แต่ ) สถิติทดสอบ คือ , df = n -1

ตัวอย่าง 5.1 ในการบรรจุกาแฟกระป๋องยี่ห้อหนึ่ง มาตรฐานน้ำหนักกาแฟคือ 150 กรัม ถ้าทราบว่าน้ำหนักของกาแฟมีการแจกแจงแบบปกติ และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 5 กรัม สุ่มตัวอย่างกาแฟมา 64 กระป๋อง ปรากฏว่ากาแฟมีน้ำหนักเฉลี่ย 149.5 กรัม จงทดสอบว่าการบรรจุกาแฟกระป๋องได้มาตรฐานหรือไม่ โดยใช้ระดับนัยสำคัญ 0.05 วิธีทำ จากโจทย์ ต้องการทดสอบว่าน้ำหนักของกาแฟเป็น 150 กรัมหรือไม่ ( )

ตัวอย่าง 5.2 ผู้จัดการโรงงานอุตสาหกรรมแห่งหนึ่งคาดว่าปริมาณวัตถุดิบเฉลี่ยที่ใช้ในโรงงานจะมากกว่า 880 ตันต่อวัน จึงเก็บข้อมูลปริมาณวัตถุดิบที่ใช้ต่อวันมา 50 วัน คำนวณได้ปริมาณเฉลี่ย 892 ตันต่อวัน ความแปรปรวนเท่ากับ 400 ตัน2 การคาดคะเนของผู้จัดการถูกต้องหรือไม่ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 วิธีทำ

ตัวอย่าง 5.3 โรงงานอุตสาหกรรมผลิตปากกาลูกลื่นแห่งหนึ่ง โฆษณาว่าปากกาลูกลื่นที่ผลิตมีอายุการใช้งานอย่างต่ำ 400 ชั่วโมง ตัวแทนจำหน่ายปากกาลูกลื่นชนิดนี้ต้องการพิสูจน์ว่าโฆษณาเป็นจริงหรือไม่ จึงสุ่มปากกาชนิดนี้มา 25 ด้าม ได้อายุการใช้งานเฉลี่ย 410 ชั่วโมง และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 15 ชั่วโมง จงทดสอบว่าคำโฆษณาเป็นจริงหรือไม่ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 วิธีทำ

ตัวอย่าง 5.4 บันทึกน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นของไก่ที่สุ่มมาจากฟาร์มแห่งหนึ่งจำนวน 10 ตัว หลังจากการให้อาหารเสริมพิเศษใน 3 เดือนแรก บันทึกผลการทดลองได้ดังนี้ หน่วย: กรัม 30, 22, 32, 26, 24, 33, 34, 36, 32, 31 จงทดสอบว่าน้ำหนักไก่ที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยเท่ากับ 25 กรัมหรือไม่ โดยใช้ระดับนัยสำคัญ 0.10 วิธีทำ