การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง
Advertisements

การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
การทดสอบสมมติฐานสัดส่วนของประชากร
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
การทดสอบไคกำลังสอง (Chi-square)
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
แบบสอบถามประกอบการศึกษา
การศึกษาทางชีววิทยา Umaporn.
กระบวนการวิจัย(Research Process)
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
Thesis รุ่น 1.
สถิติ.
การวางแผนและการดำเนินงาน
การจำลองความคิด
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การตรวจสอบข้อมูลทางอุทกวิทยา
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
: การกำหนดสมมติฐานและทดสอบ Hypothesis and Test of Hypothesis
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
การจัดกระทำข้อมูล.
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
2-test.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การทดสอบสมมติฐาน
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
นางณัฐฐินี ฉิมแย้ม ผู้วิจัย
พาราโบลา (Parabola) โรงเรียนอุดมดรุณี ครูฐานิตดา เสมาทอง
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
วิจัย (Research) คือ อะไร
Operators ตัวดำเนินการ
การวิเคราะห์สถิติ SPSS for Windows
การเขียนผังงาน (Flowchart)
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
หลักการแก้ปัญหา.

ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge)
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
บทที่ 3 กระบวนการวิจัยตลาดและการกำหนดปัญหาการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
การพัฒนาบทเรียนบนเว็บโดยใช้โครงงานเป็นฐาน รายวิชาระบบคอมพิวเตอร์เบื้องต้นและอัลกอริทึม Development of Web – based Instruction using Project - based Learning.
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
ผู้วิจัย นางสาวนิตญา จุทาชื่น วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
วุฒิการศึกษา/สถานศึกษา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การกำหนดประเด็นปัญหา
สมมติฐานการวิจัย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)

ความหมายของสมมติฐาน สมมติฐาน คือ คำตอบที่ผู้วิจัยคาดคะเนไว้ล่วงหน้าอย่างมีเหตุผล หรือ ข้อความที่อยู่ในรูปของการคาดคะเนความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัว หรือมากกว่า 2 ตัวเพื่อใช้ตอบปัญหาหรือข้อสงสัยที่ต้องการศึกษา สมมติฐานที่ตั้งอาจเป็นสมมติฐานที่ถูกหรือผิดก็ได้ จึงต้องมีกระบวนการในการทดสอบสมมติฐานว่าสมมติฐานที่ตั้งขึ้นนั้นถูกหรือผิด

ประเภทของสมมติฐาน สมมติฐานแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. สมมติฐานทางการวิจัย (Research Hypothesis) 2. สมมติฐานทางสถิติ (Statistical Hypothesis)

ประเภทของสมมติฐาน 1. สมมติฐานทางการวิจัย เป็นคำตอบที่ผู้วิจัยคาดการณ์ไว้ล่วงหน้า และเป็นข้อความที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวขึ้นไป เพื่อชี้ให้เห็นว่าผู้วิจัยสงสัย หรือคาดการณ์ว่าจะได้ผลอย่างไร เช่น - ผู้บริหารเพศชายมีประสิทธิภาพในการบริหารงานมากกว่าผู้บริหารเพศหญิง - เจตคติต่อวิชาสถิติมีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสถิติ 2. สมมติฐานทางสถิติ เป็นสมมติฐานที่ตั้งขึ้นเพื่อใช้ทดสอบว่า สมมติฐานทางการวิจัยที่ผู้วิจัยตั้งไว้เป็นจริงหรือไม่ โดยเขียนอยู่ในรูปของสัญลักษณ์ทางสถิติ โดยสัญลักษณ์ที่ใช้ จะใช้แทนพารามิเตอร์

การตั้งสมมติฐานทางสถิติ สมมติฐานเพื่อการทดสอบ หรือสมมติฐานว่าง (Null Hypothesis: H0) เป็นสมมติฐานที่ระบุค่าพารามิเตอร์ที่สงสัยว่าจะมีค่าเป็นค่าใดค่าหนึ่งที่สนใจ บางครั้งเรียกว่า “สมมติฐานหลัก” ในการตั้งสมมติฐานว่าง เครื่องหมายที่ใช้ทดสอบได้แก่ และ เท่านั้น 2. สมมติฐานแย้ง หรือสมมติฐานทางเลือก (Alternative Hypothesis: H1) เป็นสมมติฐานที่ตรงกันข้ามกับสมมติฐานที่ต้องการทดสอบ บางครั้งเรียกว่า “สมมติฐานรอง” ในการตั้งสมมติฐานแย้ง จะต้องตรงข้ามกับสมมติฐานว่าง

ถ้าให้ เป็นพารามิเตอร์ เป็นค่าคงที่ที่ทราบค่า โดยทั่วไปการตั้งสมมติฐานเป็นดังนี้

เกิดความคลาดเคลื่อน แบบที่ 2 เกิดความคลาดเคลื่อน แบบที่ 1 ความผิดพลาดในการทดสอบสมมุติฐาน การตัดสินใจ ข้อเท็จจริงของ H0 H0 เป็นจริง H0 เป็นเท็จ ยอมรับ H0 ตัดสินใจถูกต้อง ตัดสินใจผิดพลาด เกิดความคลาดเคลื่อน แบบที่ 2 ปฏิเสธ H0 เกิดความคลาดเคลื่อน แบบที่ 1

การทดสอบสมมติฐานทางเดียว (Single – Sided Alternative Hypothesis Test) ด้านซ้าย 2) การทดสอบสมมติฐานทางเดียว ด้านขวา

การทดสอบสมมติฐานสองทาง (Two – Sided Alternative Hypothesis Test)

ตารางสรุปเครื่องหมายของการทดสอบแบบต่างๆ

ขั้นตอนในการทดสอบสมมติฐาน กำหนดสมมติฐาน ทั้งสมมติฐานหลัก (H0) และสมมติฐานทางเลือก (H1) 2) กำหนดระดับนัยสำคัญ ( ) 3) เลือกสถิติเพื่อใช้ในการทดสอบให้เหมาะสม 4) คำนวณค่าสถิติทดสอบ 5) หาค่าวิกฤต อาณาเขตวิกฤต 6) สรุปผลและแปลความหมาย