4. สถาบันการเมืองการปกครอง เสนอครู นาตยา สุกจั่น
สมาชิกในกลุ่ม นาย ณัฐภัทร ปานศิริ ม.4/2 เลขที่ 11 นาย ณัฐภัทร ปานศิริ ม.4/2 เลขที่ 11 นาย สุวินัย สุนทรสถิตใจ ม.4/2 เลขที่ 12 นาย ชินกฤต พรหมธิรักษ์ ม.4/2 เลขที่ 13 นางสาว ปรางมาศ แสงนุ่ม ม.4/2 เลขที่ 24 นางสาว กษมา ธิติลกรัตน์ ม.4/2 เลขที่ 26 นางสาว พัชรากร พรมมาลี ม.4/2 เลขที่ 27 นางสาว มารวย พิมพ์ประเสริฐ ม.4/2 เลขที่ 31 นางสาว วัลย์ลดา สุขสมโภชน์ ม.4/2 เลขที่ 38 นางสาว จิรภิญญา บุญศร ม.4/2 เลขที่ 46
ความหมายของสถาบันการเมืองการปกครอง สถาบันการเมืองการปกครอง เป็นสถาบันที่กำหนดบทบาทในการจัดการทางสังคมประกอบด้วยกลุ่มคนหรือองค์กรทางสังคมที่มีหน้าที่รักษาความสงบสุข และความมั่นคงของชาติเพื่อช่วยแก้ปัญหาต่าง ๆ ช่วยป้องกันแบะปราบปราม ช่วยวางแผนและกำหนดนโยบายของส่วนรวม ให้หลักประกันคุ้มครองเสรีภาพของบุคคล และสร้างความมั่นคงให้กับชีวิต
บทบาทของสมาชิก สมาชิกของสถาบันการเมืองการปกครองมีบทบาท เช่น นายกรัฐมนตรีมีบทบาทในการเป็นผู้นำฝ่ายรัฐบาล มีหน้าที่ควบคุมดูแลการทำงานของคณะรัฐมนตรี ส่วนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร มีบทบาทในการตรวจสอบการทำงานของฝ่ายรัฐบาล สำหรับประชาชนมีบทบาท คือ รักษาสิทธิเสรีภาพของตนเอง และปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด
หน้าที่ของสถาบันการเมืองการปกครอง
1) ให้หลักประกันในเรื่องสิทธิและเสรีภาพแก่สมาชิกของสังคม เพื่อคุ้มครองสมาชิกให้ปลอดภัย สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
2) ป้องกันและระงับข้อพิพาท สร้างความยุติธรรมระหว่างสมาชิก โดยการบังคับใช้กฎหมายในการตัดสินกรณีพิพาทต่างๆ
3) รักษาความมั่นคงและความสงบเรียบร้อยของสังคม โดยการบัญญัติกฎหมายขึ้นใช้และควบคุมให้มีการปฏิบัติตามกฎหมาย
4) ป้องกันสมาชิกไม่ให้ถูกรุกรานจากภายนอก โดยสร้างความร่วมมือ กับสังคมอื่นและความร่วมมือระหว่างประเทศ
การเมืองการปกครองของไทยปัจจุบัน การเมืองการปกครองของไทยปัจจุบัน
การเมืองการปกครองของไทยปัจจุบัน การเมืองการปกครองของไทยปัจจุบัน ประเทศไทยมีการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
4) ป้องกันสมาชิกไม่ให้ถูกรุกรานจากภายนอก ความหมาย สถาบันการเมืองการปกครอง เป็นสถาบันที่กำหนดบทบาทในการจัดการทางสังคมประกอบด้วยกลุ่มคนหรือองค์กรทางสังคมที่มีหน้าที่รักษาความสงบสุข และความมั่นคงของชาติเพื่อช่วยแก้ปัญหาต่าง ๆ ช่วยป้องกันแบะปราบปราม ช่วยวางแผนและกำหนดนโยบายของส่วนรวม หน้าที่ของสถาบันการเมืองการปกครอง 1) ให้หลักประกันในเรื่องสิทธิและเสรีภาพแก่สมาชิกของสังคม 2) ป้องกันและระงับข้อพิพาท 3) รักษาความมั่นคงและความสงบเรียบร้อยของสังคม 4) ป้องกันสมาชิกไม่ให้ถูกรุกรานจากภายนอก สถาบัน การปกครอง สมาชิกของสถาบันการเมืองการปกครองมีบทบาท สำหรับประชาชนมีบทบาท คือ รักษาสิทธิเสรีภาพของตนเอง และปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด การปกครองแบบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์