Carbohydrate Ramida Amornsitthiwat, M.D. Pichanee Chaweekulrat, M.D.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

สมดุลเคมี.
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
การเทียบความทึบแสง (Spectrophotometry)
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ความน่าจะเป็น (Probability)
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
Cellular Respiration 18,25 ก.ย. 56
Laboratory in Physical Chemistry II
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
ทบทวนความรู้ การสอบปฏิบัติการครั้งที่ 1
ชมรม “อยู่ดีมีสุข” 16 พฤษภาคม 2550
เคมีอินทรีย์ ฟีนอล และแอริลเฮไลด์
Forensic discrimination of blue ballpoint pen inks based on
Amino Acids and Proteins
Carbohydrates  Macromolecules  Micromolecules - sucrose - starch
ACCURACY IN DIAGNOSIS ACUTE APPENDICITIS IN BUDDHACHINNARAJ HOSPITAL
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
Mr. POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
Chemical Properties of Grain
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
บทที่ 7 Aldehydes and Ketones
Management of Pulmonary Tuberculosis
การศึกษาการใช้ทฤษฏี Fuzzy Signature เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์การเกิดโรคไตในผู้ป่วย อัมพล หลำเบ็ญส๊ะ.
โครมาโตกราฟี โครมาโตกราฟี คือ การแยกสารโดย
8.2.1 ไอออนในสารละลายกรด สารละลายกรดทุกชนิดมีไอออนที่เหมือนกันคือ H3O+
Station 15 LE preparation and ESR
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลน่าน
การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน
คัมภีร์ โพธิพงษ์ และ พัชรี คำธิตา
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะไตวาย.
ปัสสาวะเป็นเลือด แผนการเรียนรู้ที่ 2:
Biochemistry Quiz 2009.
การสังเคราะห์กรดไขมัน (ที่อยู่นอก Mitochondria)
การให้การปรึกษาในการตรวจเอชไอวี แบบฟังผลในวันเดียว Counseling with Same Day HIV Testing 12 July 2011.
ชื่อผลงาน ถุงมหัศจรรย์.
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
Lab : protein chemistry JUN 27th, 2014 Rujira Patanawanitkul, M. D
GDM and Cervical cancer screening
ควรเริ่มตรวจแป๊บสเมียร์เมื่อใด ใครบ้างที่ควรตรวจแป๊บสเมียร์
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โรคเบาหวาน ภ.
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
Thalassemia screening test
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
ชื่อ คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate), แซคคาไรด์ (Saccharide) ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นชื่อเรียกรวมๆ ของกลุ่มของสารเคมีชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด สารเคมีในกลุ่มนี้มีหลายชนิด.
การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ผลการตรวจสุขภาพพระภิกษุ สามเณร
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวต (Chemical basic of organisms)
BIOCHEMISTRY I CARBOHYDRATE.
สารชีวโมเลกุล (Biomolecules) ดร.ธิดา อมร.
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Carbohydrate Ramida Amornsitthiwat, M.D. Pichanee Chaweekulrat, M.D.

Hydroxymethylfurfural Part 1 การทดลองที่ 1 ปฏิกิริยาของ mono-, di- และ polysaccharide ใช้น้ำละลาย 0.05 M Xylose, Glucose, Fructose, Lactose และ Sucrose สำหรับการทดลอง A-G คาร์โบไฮเดรตจะถูกดึงน้ำออกโดยกรดแก่ให้สารประกอบ Furfural หรือ hydroxymethylfurfural ซึ่งจะทำปฏิกิริยากับ a- naphthol ใน 95% alcohol (Molisch reagent) ได้สารประกอบสีม่วงแดง (purple compound) A. MOLISCH TEST O - C - H -3H2O strong acid Pentose Hexose Furfural CH2OH- Hydroxymethylfurfural

sugar + a-naphthol purple H2SO4 Sugar 1 ml + Molisch reagent 3 drops (mixed) + gradually drop conc. H2SO4 1 ml 10 x 75 mm sugar + a-naphthol purple H2SO4

B. BENEDICT’S TEST - ทดสอบ REDUCING PROPERTY - BENEDICT’S REAGENT เป็น ALKALINE SOLUTION ของ CuSO4 ซึ่ง Cu++ เป็น MILD OXIDIZING AGENT จะทำปฏิกิริยากับ ALDEHYDE หรือ KETO GROUP ของ OPEN CHAIN FORM ของ ALDOSE หรือ KETOSE RCHO + 2Cu++ + 5OH- RCOO- + Cu2O + 3H2O ตะกอนสีแดงอิฐ

น้ำตาลที่สามารถ REDUCE Cu++ ให้เป็น Cu+ ได้ จะเรียกว่าเป็น REDUCING SUGAR ดังนั้น น้ำตาลที่มี FREE ANOMERIC CARBON จึงเป็น REDUCING SUGAR หมายเหตุ: vitamin C, uric acid, creatinine ให้ผลบวกเท็จ (false positive) ได้

BENEDICT’S SOLUTION 3 ml วิธีทดลอง SUGAR 5 DROPS + BENEDICT’S SOLUTION 3 ml 18 x 150 mm BOIL 30 sec หรือแช่ในน้ำเดือด นาน 3 min PRECIPITATE

+ ได้เร็วกว่า DISACCHARIDES BARFOED 3 ml BOIL 1min หรือแช่ในน้ำเดือด C. BARFOED TEST - ทดสอบ MONOSACCHARIDE - หลักการ MONOSACCHARIDE จะ REDUCE Cu++ ใน ACID SOLUTION ได้เร็วกว่า DISACCHARIDES SUGAR 5 DROPS + BARFOED 3 ml BOIL 1min หรือแช่ในน้ำเดือด นาน 5 min PRECIPITATE

HYDROXYMETHYLFURFURAL RESORCINOL (in HCl) หรือแช่ในน้ำเดือดนาน 1min D. SELIWANOFF TEST - ALDOHEXOSE และ KETOHEXOSE จะถูก DEHYDRATE ด้วยกรดแรงได้ HYDROXYMETHYL FURFURAL แต่สารประกอบที่มี FRUCTOSE จะเกิดปฏิกิริยาเร็วกว่า ALDOHEXOSE 3 H2O OH HC CH O FRUCTOSE HOH2C-HC CH-CH + OH O HYDROXYMETHYLFURFURAL RESORCINOL (in HCl) SUGAR 5 DROPS + SELIWANOFF 3 ml BOIL ~ 10 sec หรือแช่ในน้ำเดือดนาน 1min ORANGE RED OR DEEP CHERRY RED COLOR

- ทดสอบ PENTOSE SUGAR 1 ml + GLACIAL ACETIC 1 ml + ANILINE 3 DROPS E. ANILINE TEST - ทดสอบ PENTOSE acid PENTOSE FURFURAL + ANILINE DARK RED SUGAR 1 ml + GLACIAL ACETIC 1 ml + ANILINE 3 DROPS BOIL เดือดแล้วเอาออก หรือแช่ในน้ำเดือด นาน 1 min

GLUCOSE + 2ADP + 2 Pi 2ETHANOL + 2CO2 + 2ATP F. YEAST FERMENTATION (DEMONSTRATION) - FERMENTATION หรือ การหมัก เป็นขบวนการที่ YEAST สามารถเปลี่ยนน้ำตาลบางชนิดไปเป็น ETHANOL และ CO2 ภายใต้ภาวะ ANAEROBIC GLUCOSE + 2ADP + 2 Pi 2ETHANOL + 2CO2 + 2ATP CO2 SUGAR + YEAST SACCHAROMETER

Red (quinoneimine dye) G. GLUCOSE OXIDASE TEST - ทดสอบ specificity ของกลูโคสต่อ enz. Glucose oxidase GLUCOSE OXIDASE GLUCOSE GLUCONIC ACID + H2O2 H2O2 + PHENOL + AMINO - 4 - ANTIPYRINE PEROXIDASE QUINONEIMINE DYE + 4H2O การทดลอง SUGAR (1 drop) + Glucose oxidase (1 drop) บนจานสี Red (quinoneimine dye)

erythrodextrin + iodine Achroodextrin + iodine deep blue color purple H. IODINE TEST - ทดสอบ polysaccharide ex. starch, glycogen, dextrin amylose + iodine amylopectin + iodine glycogen + iodine amylodextrin + iodine erythrodextrin + iodine Achroodextrin + iodine deep blue color purple dark orange-brown blue (bluish violet) red clear

CONTROL ใช้ น้ำกลั่น 2 ml + 2% IODINE 1-2 หยด สารที่นำมาทดสอบ ได้แก่ 1% น้ำแป้งข้าวเจ้า 1% น้ำแป้งข้าวเหนียว 1% Dextrin 1% Glycogen GLYCOGEN 2 ml + 2% IODINE 1-2 DROP BROWNISH RED CONTROL ใช้ น้ำกลั่น 2 ml + 2% IODINE 1-2 หยด

หลักการของ Chromatography ANALYSIS OF SUGAR BY PAPER CHROMATOGRAPHY ( DEMONSTRATION ) การทดลองที่ 2 หลักการของ Chromatography เป็นวิธีแยกสารโดยอาศัยคุณสมบัติของสาร ได้แก่ คุณสมบัติในการละลายในตัวทำละลายของสาร และ คุณสมบัติในการถูกดูดซับที่แตกต่างกันของสาร - Paper chromatography สาร : น้ำตาลชนิดต่างๆ น้ำยาแยก (developer) : Isopropanol, น้ำ ตัวดูดซับ : กระดาษกรอง

SOLVENT FRONT 1 = GLUCOSE 2 = UNKNOWN STARTING POINT 1 2 Rf = DISTANCE TRAVELED BY SUBSTANCE DISTANCE TRAVELED BY SOLVENT FRONT X 100 Rg = DISTANCE TRAVELED BY SUBSTANCE DISTANCE TRAVELED BY GLUCOSE X 100

ค่า Rg ของน้ำตาลบางชนิด 80 105 32 80 glucose xylose maltose 100 130 47 galactose fructose lactose sucrose

การทดลองที่ 3 โรคเบาหวาน (diabetes mellitus) เป็นโรคที่เกิดจากการที่ร่างกายมีน้ำตาลกลูโคสในเลือดสูงกว่าปกติ กลูโคสจะออกมาในปัสสาวะและสามารถตรวจพบได้โดยวิธี Benedit’s test ในทางการแพทย์ได้นำเอาวิธีดังกล่าวมาตรวจหาน้ำตาลในปัสสาวะเพื่อใช้ในการตรวจคัดกรอง (screening) หาผู้ป่วยเบาหวานและใช้ในการติดตามการผลการรักษา จากการตรวจหาน้ำตาลในปัสสาวะโดยวิธี Benedict’s test ในผู้ป่วย 2 ราย ได้ผลดังนี้ ผู้ป่วยรายที่ 1 - ชายอายุ 30 ปี ร่างกายแข็งแรงดี ไม่มีโรคประจำตัวใดๆ มีประวัติบิดาเป็นเบาหวาน ผลการตรวจปัสสาวะโดยวิธี Benedict’s test ให้ผลบวก ผู้ป่วยรายที่ 2 - หญิงอายุ 28 ปี กำลังตั้งครรภ์ได้ 32 สัปดาห์ ผลการตรวจปัสสาวะโดยวิธี Benedict’s test ให้ผลบวก

ให้นักศึกษาทำการทดลอง เพื่อพิสูจน์ว่าผู้ป่วยทั้งสองมีน้ำตาลชนิดใดออกมาในปัสสาวะโดยใช้ reaction ต่างๆ และผลจาก paper chromatography

คำถามท้ายการทดลอง 1. ผู้ป่วยทั้งสองรายมีน้ำตาลชนิดใดในปัสสาวะ 2. ผู้ป่วยทั้งสองรายนี้น่าจะเป็นโรคเบาหวานหรือไม่ เพราะเหตุใด 3. จงอธิบายสาเหตุที่น่าจะเป็นที่ทำให้มีน้ำตาลในปัสสาวะของผู้ป่วยทั้ง 2 รายนี้ 4. Benedict’s test มีหลักการอย่างไรและให้ผลบวกกับน้ำตาลชนิดใดได้บ้าง 5. เหตุใด sucrose จึงไม่สามารถ reduce Cu2+ ให้เป็น Cu2O เมื่อทำการทดสอบ Benedict’s test 6. เหตุใดแป้งข้าวเจ้าและแป้งข้าวเหนียวจึงให้สีแตกต่างกันเมื่อทดสอบกับ iodine 7. Starch และ Glycogen ทำปฏิกิริยากับ I2 จะได้ผลอย่างไร 8. Starch และ Glycogen มีส่วนที่เหมือนและต่างกันอย่างไร 9. Fermentation คืออะไร

Timetable Introduction to lab carbohydrate 9.00-9.30 9.30-11.35 11.35-11.40 สรุปผลการทดลองส่วนกลาง Quiz 11.40-11.55