บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
Advertisements

วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
บทที่ 2 ฟังก์ชันค่าเวกเตอร์
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
Vector Analysis ระบบ Coordinate วัตถุประสงค์
จงหาส่วนประกอบของแรงในแนว ทำกับประจุที่จุดA(3,4,12) โดย F
สอบท้ายบท เรื่อง เวกเตอร์
การวิเคราะห์ความเร็ว
การวิเคราะห์ความเร่ง
MTE 426 การวิเคราะห์ตำแหน่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1.
การแตกแรง และ การรวมแรงมากกว่า 2 แรง
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
เวกเตอร์และสเกลาร์ขั้นสูง
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
เวกเตอร์และสเกลาร์ ขั้นสูง
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 1 อัตราส่วน.
ผลคูณเชิงสเกลาร์และผลคูณเชิงเวกเตอร์
บทที่ 2 ศักย์ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าสถิตย์
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
บทที่ 1เวกเตอร์สำหรับฟิสิกส์ จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 3 ชั่วโมง
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
เวกเตอร์ (Vectors) 1.1 สเกลาร์และเวกเตอร์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
เวกเตอร์(Vector) โดย มาสเตอร์พิทยา ครองยุทธ
ระบบอนุภาค.
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
Force Vectors (1) WUTTIKRAI CHAIPANHA
Force Vectors (3) WUTTIKRAI CHAIPANHA
Equilibrium of a Particle
Force Vectors (2) WUTTIKRAI CHAIPANHA
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
Systems of Forces and Moments
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
การแจกแจงปกติ.
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II Chapter 1 Vector.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 เวกเตอร์แรง

จุดประสงค์ แสดงการบวกแรง และการคำนวณองค์ประกอบแรงโดย ใช้ Parallelogram Law แสดง แรงในลักษณะเวกเตอร์ การหาขนาดและทิศของ แรง แสดงการ คูณแบบจุด เพื่อหามุมระหว่างสองเวกเตอร์

ปริมาณสเกลาร์และปริมาณเวกเตอร์ ปริมาณสเกลาร์ คือปริมาณที่เกี่ยวข้องเฉพาะขนาด เช่น มวล ปริมาตร ความยาว โดยจะแสดงตัวแปรเป็นตัวเอียง เช่น A ปริมาณเวกเตอร์ คือปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศ เช่น แรง โมเมนต์ การขจัด ความเร็ว ความเร่ง แสดงเป็นตัวหนา หรือมีลูกศรด้านบน เช่น A, เป็นเวกเตอร์ที่มี ขนาดเท่ากับ A และสามารถแสดงเป็นรูปได้ ความยาวของลูกศร แสดงขนาด ทิศแสดง ด้วยทิศของหัวลูกศร A 20o

สเกลาร์ (Scalar) เวลา (t) second s ปริมาตร (V) cubic meter m3 liter l ความหนาแน่น () kilograms per cubic meter kg/ m3 อัตราเร็ว (V) meter per second m/s พลังงาน (E) joule J มวล (m) kilograms kg pound lb

เวกเตอร์ (Vector) เวกเตอร์อิสระ (Free vector) เวกเตอร์ (Vector) คือปริมาณที่เกี่ยวข้องกับขนาดและทิศทาง ได้แก่ การขจัด (m), ความเร็ว (m/s), ความเร่ง (m/s2), แรง (N), โมเมนต์ (Nm) และ โมเมนตัม (kgm/s) ในทางฟิสิกส์นั้นเวกเตอร์แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ เวกเตอร์อิสระ (Free vector) เวกเตอร์เลื่อน (Sliding vector) เวกเตอร์คงที่ (Fixed vector)

เวกเตอร์อิสระ (Free Vector) เป็นเวกเตอร์ที่มีตำแหน่งไม่แน่นอน ดังนั้นจึงเขียนได้เฉพาะขนาดและทิศทาง เท่านั้น เช่น เวกเตอร์ของการขจัดของจุดทุกจุดบนวัตถุใด ๆ ซึ่งเคลื่อนที่โดย ปราศจากการหมุน และเวกเตอร์ของแรงคู่ควบ

เวกเตอร์เลื่อน (Sliding Vector) เป็นเวกเตอร์ที่มีแนวแน่นอนตามแนวเส้นตรงหนึ่งในระวางที่ เช่น เวกเตอร์ของ แรงภายนอกที่กระทำกับวัตถุเกร็ง

เวกเตอร์คงที่ (Fixed Vector) เป็นเวกเตอร์ที่มีแนวและตำแหน่งแน่นอน โดยมีจุดที่แสดงตำแหน่งเวกเตอร์ เช่น เวกเตอร์ของแรงที่กระทำกับวัตถุแปรรูป ทั้งนี้ถ้าเวกเตอร์เปลี่ยนตำแหน่ง จะมีผลต่อการแปรรูปของวัตถุ ดังนั้นจึงต้องกำหนดตำแหน่งของเวกเตอร์ให้ คงที่แน่นอน

การคูณและหารเวกเตอร์ด้วยปริมาณสเกลาร์ ผลคูณของเวกเตอร์ A กับปริมาณสเกลาร์ a จะมีขนาดเท่ากับ |aA| = |a| |A| ถ้า a เป็นบวก เวกเตอร์ผลคูณจะมีทิศเดียวกับ A ถ้า a เป็นลบ เวกเตอร์ผลคูณจะมีทิศตรงข้ามกับ A -1.5A 2A 0.5A A

การบวกเวกเตอร์ A R=A+B A B B B A R=A+B เวกเตอร A สามารถบวกกับเวกเตอร์ B ได้เป็นเวกเตอร์ลัพธ์ R R = A + B ได้โดยใช้กฏการขนานกันของเวกเตอร์ A A R=A+B B B B A R=A+B

การบวกเวกเตอร์ A B R=A+B ถ้าเวกเตอร์ทั้งสองอยู่บนแนวเส้นตรงเดียวกัน เวกเตอร์ลัพธ์จะเท่ากับการบวกกันแบบสเกลาร์ A B R=A+B

การแตกเวกเตอร์ลัพธ์ ออกเป็นองค์ประกอบของเวกเตอร์ เข้าแกน อ้างอิงใดๆ ทำได้โดยใช้กฎการขนานกันของเวกเตอร์ B A a R b a R b

การหาแรงลัพธ์ A B C a b c แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ มีทั้งขนาดและทิศทาง เราสามารถรวมเวกเตอร์ หรือแตกเป็นองค์ประกอบเวกเตอร์ได้ โดยใช้หลักการคำนวณ แบบเวกเตอร์ ปัญหาในวิชา statics หลักๆคือ การหาแรงลัพธ์ เมื่อทราบองค์ประกอบของแรง หรือ การแตกแรงลัพธ์ที่ทราบค่าออกเป็นองค์ประกอบของแรง การหาขนาดของแรง สามารถใช้กฏของโคไซน์ ส่วนการหาทิศของแรง ใช้กฏของไซน์ A B C a b c

Example จงหาแรงลัพธ์ ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 หาขนาดของเวกเตอร์ลัพธ์ 10o 15o 100N 150N q FR จงหาแรงลัพธ์ ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 หาขนาดของเวกเตอร์ลัพธ์ หาทิศของเวกเตอร์ลัพธ์ FR ทำมุม 39.5o+15o=54.8o กับแกนนอน 10o 15o F1 = 100N F2 = 150N FR = 212.6 N

การบวกเวกเตอร์ใน 2 มิติ เราสามารถแตกแรงในระนาบออกเป็นสองแรงที่ตั้งฉากกัน (แกน x, แกน y) โดยแสดง ในลักษณะที่แยกเป็น ส่วนที่เป็นสเกลาร์ (Fx, Fy) ส่วนที่เป็นเวกเตอร์หนึ่งหน่วย i, j ทำให้การบวก ลบ เวกเตอร์ทำได้ง่ายขึ้น เช่น F1 = F1x i + F1y j F2 = F2x i + F2y j F3 = F3x i + F3y j F = Fx i + Fy j FR = F1 + F2 + F3 = (F1x+F2x+F3x)i + (F1y+F2y+F3y) j = (FRx) i + (FRy) j

การบวกเวกเตอร์ใน 2 มิติ

Example จงหาแรงลัพธ์ + + ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 45o 30o F1 = 600N F2 = 400N x y จงหาแรงลัพธ์ ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 FRx = 600 cos 30oN – 400 sin 45oN = 236.8 N FRy = 600 sin 30oN + 400 cos 45oN = 582.8 N 45o 30o F1 = 600N F2 = 400N + +

Example ขนาดของเวกเตอร์ลัพธ์ ทิศของเวกเตอร์ลัพธ์ หรือแสดงในรูป = 629 N FR = F1 + F2 = (600 cos30oN – 400 sin45oN) i + (600 sin30oN + 400 cos45oN) j = {(236.8) i + (582.8) j} N

การบวกเวกเตอร์ใน3มิติ ระบบแกนในสามมิติ (cartesian coordinate system) จะเป็นไปตามกฏมือขวา x y z a b g A Ax i Ay j Az k

การบวกเวกเตอร์ใน3มิติ เวกเตอร์หนึ่งหนวยของ A คือ การบวกเวกเตอร์ใน3มิติ

Example x y F2 = {50i -100j+100k} kN z F1 = {60j+80k} kN FR = F1 + F2 = {60j+80k} kN + {50i -100j+100k} kN = {50i-40j+180k} kN

Example cos a = 0.2617 cos b = -0.2094 cos g = 0.9422 = 74.8o b = 102o = 191.0 = 191 N

เวกเตอร์บอกตำแหน่ง เป็นเวกเตอร์ที่ใช้บอกตำแหน่งของจุดใดๆใน space ที่สัมพันธ์กับจุดอื่น หรือจุดอ้างอิง เช่น ในระบบพิกัดที่มีจุดกำเนิด O มีตำแหน่ง P(x,y,z) ใน space จะสามารถบอกได้ด้วยเวกเตอร์บอกตำแหน่ง r = xi + yj + zk ในกรณีทั่วไป เวกเตอร์บอกตำแหน่ง สามารถบอกตำแหน่งจากจุด A ไป ยังจุด B ได้ โดย rAB = rB – rA เมื่อ rA และ rB คือเวกเตอร์บอกตำแหน่ง ของจุด A และ จุด B เมื่อเทียบ กับจุดกำเนิด rA = xA i + yA j + zA k rB = xB i + yB j + zB k rAB = (xB - xA) i + (yB - yA ) j + (zB - zA) k

การคูณแบบจุด (dot product) เมื่อ q เป็นมุมระหว่าง A กับ B

การดอตเวกเตอร์ (Dot product) Dot product of Cartesian unit vectors ยกตัวอย่างเช่น ii = (1)(1)cos(0o) = 1 ij = (1)(1)cos(90o) = 0 จึงสรุปได้ว่า ii = jj = kk = 1 ij = ik = jk = 0 Dot product of 2 vectors A and B AB = (Axi + Ayj + Azk)·(Bxi + Byj + Bzk) = AxBx(i·i) + AxBy(i·j) + AxBz(i·k) + AyBx(j·i) + AyBy(j·j) + AyBz(j·k) + AzBx(k·i) + AzBy(k·j) + AzBz(k·k) = AxBx + AyBy + AzBz

ตัวอย่าง กำหนดให้ A = -i - 2j + 3k และ B = 4i - 5j + 6k จงหา AB และ มุมระหว่าง A และ B AB = (-i - 2j + 3k)(4i - 5j + 6k) = (-1)(4) + (-2)(-5) + (3)(6) = -4 + 10 + 18 = 24 Ans จาก AB = AB cos 24 = (3.74)(8.77)cos  = cos-1(0.73) = 43.11o Ans

แบบฝึกหัด จงหามุมระหว่างสองเวกเตอร์

ตัวอย่าง จงหาองค์ประกอบของ FAB ในแนว AC วิธีทำ FAC = FAB  uC

FAC = FAB  uC