บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
Vector Analysis ระบบ Coordinate วัตถุประสงค์
กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การวิเคราะห์ความเร็ว
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
ทบทวน 1กลศาสตร์ Newton 1.1 Introduction “ระยะทาง” และ “เวลา”
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
อสมการ.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
ผลคูณเชิงสเกลาร์และผลคูณเชิงเวกเตอร์
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
การประยุกต์ใช้ปริพันธ์ Applications of Integration
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
บทที่ 1เวกเตอร์สำหรับฟิสิกส์ จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 3 ชั่วโมง
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
เวกเตอร์ (Vectors) 1.1 สเกลาร์และเวกเตอร์
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
ระบบอนุภาค.
Function and Their Graphs
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
Force Vectors (1) WUTTIKRAI CHAIPANHA
Introduction to Statics
Equilibrium of a Particle
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
Chapter 3 Equilibrium of a Particle
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
วงรี ( Ellipse).
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
สื่อการสอนคณิตศาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค

จุดประสงค์ ให้รู้จักการวาด free-body diagram ของอนุภาค ให้รู้จักการแก้โจทย์ความสุมดุลย์ของอนุภาคโดยใช้สมการ ความสมดุล

เงื่อนไขการสมดุลของอนุภาค อนุภาคสมดุลเมื่อคงสภาพการหยุดนิ่ง หรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ เพื่อคงสภาพการสมดุล แรงลัพธ์ต้องเท่ากับศูนย์

The free-body diagram คือการวาดอนุภาคที่เป็นอิสระจากสิ่งแวดล้อม และแสดงแรงทั้งหมดที่ กระทำกับอนุภาค มีขั้นตอนดังนี้ วาดรูปร่างเฉพาะขอบของอนุภาค ที่เป็นอิสระจากสิ่งแวดล้อม แสดงแรงทั้งหมดที่กระทำกับอนุภาค เขียนตัวเลขบอกขนาดของแรงแต่ละแรง และเขียนลูกศรแสดงทิศของ แรง

การเชื่อมต่อกันของอนุภาค ปัญหาเรื่องความสมดุลของอนุภาค มักเกี่ยวข้องกับการเชื่อมต่อใน 2 ประเภทนี้ สปริง F = ks F คือ แรงเนื่องจากสปริง k คือ สัมประสิทธิ์ความยืดหยุ่นของสปริง s คือ ระยะยืด หรือ ระยะหดของสปริง เคเบิลและรอก ให้ถือว่าน้ำหนักของเชือกหรือเคเบิ้ลน้อยมาก และรับแรงตึงได้เฉพาะในทิศทางเดียวกับเคเบิล

ระบบแรงในสองมิติ หลักการแก้ปัญหา แก้สมการสมดุลของแรง วาด free-body diagram ตั้งแกน x, y ที่เหมาะสม วาดแรงทั้งหมด ทั้งที่ทราบค่า และไม่ทราบ แสดงขนาด และทิศของแรง ทำการสมมุติทิศทางของแรงที่ไม่ทราบ แก้สมการสมดุลของแรง แตกแรงเป็นองค์ประกอบของ i, j และใช้สมการที่เป็นสเกลาร์ในการคำนวณ ให้แรงที่กระทำในทิศเดียวกับแกนที่เป็นบวก เป็นบวก และทิศตรงข้ามกับแกนเป็นลบ ถ้ามีตัวแปรที่ไม่ทราบค่ามากกว่าหนึ่งตัว และปัญหาเกี่ยวข้องกับสปริง ให้ใช้สมการ F=ks มาร่วมคำนวณ ถ้าแรงที่เป็นคำตอบมีค่าติดลบ แสดงว่าแรงนั้นมีทิศทางตรงข้ามกับที่สมมุติ

ระบบแรงในสามมิติ แก้สมการสมดุลของแรง วาด free-body diagram หลักการแก้ปัญหา วาด free-body diagram ตั้งแกน x, y, z ในทิศทางที่เหมาะสม วาดแรงทั้งหมด ทั้งที่ทราบค่า และไม่ทราบ แสดงขนาด และทิศของแรง ทำการสมมุติทิศทางของแรงที่ไม่ทราบ แก้สมการสมดุลของแรง แตกแรงเป็นองค์ประกอบของ i, j, k และใช้สมการที่เป็นสเกลาร์ในการคำนวณ ถ้าแรงที่เป็นคำตอบมีค่าติดลบ แสดงว่าแรงนั้นมีทิศทางตรงข้ามกับที่สมมุติ

ตัวอย่าง จงหาแรงตึงในเส้นเชือก เมื่อกล่องหนัก 20 kg 45o

เฉลย กล่อง: F1 W = mg = 20(9.81) N เขียน Free-body diagram แก้สมการสมดุลแรง W = mg = 20(9.81) N F1

เฉลย เชือก: เขียน Free-body diagram แก้สมการสมดุลแรง F1 FB

เฉลย เชือก: FA FC FB คำตอบ: FA = 278 N, FB = 196 N, FC = 196 N เขียน Free-body diagram แก้สมการสมดุลแรง FA FC 45o FB คำตอบ: FA = 278 N, FB = 196 N, FC = 196 N

แบบฝึกหัด เชือก BCE ยาว 2 เมตร ก้อนน้ำหนัก E หนัก 10 N ถ้า D หนัก 4 N ระยะs มีค่าเท่ากับเท่าไหร่

แบบฝึกหัด จงหาแรงในเส้นเชือกทั้งสาม เมื่อแผ่นคอนกรีตหนัก 100 kg

การคลอสเวกเตอร์ (Cross product) การคลอสเวกเตอร์ (Cross product) ผลลัพธ์ที่ได้ยังคงเป็นเวกเตอร์ โดยมีขนาด |AB| = AB sin และมีทิศทางตามกฎมือขวา (Right-hand rule)

การครอสเวกเตอร์ (Cross product) Cross product of Cartesian unit vectors ยกตัวอย่างเช่น |ii|= (1)(1)sin(0o) = 0 |ij|= (1)(1)sin(90o) = 1 จึงสรุปได้ว่า ii = jj = kk = 0 ij = k , jk = i , ki = j ik = -j , ji = -k , kj = -i

การครอสเวกเตอร์ (Cross product) Cross product of 2 vectors A and B AB = (Axi + Ayj + Azk)  (Bxi + Byj + Bzk) = AxBx (ii) + AxBy (ij) + AxBz (ik) + AyBx (ji) + AyBy (jj) + AyBz (jk) + AzBx (ki) +AzBy (kj) +AzBz (kk) = (AyBz - AzBy)i + (AzBx - AxBz)j + (AxBy - AyBx)k

การครอสเวกเตอร์ (Cross product) In determinant form, i j k i j AB = Ax Ay Az Ax Ay Bx By Bz Bx By = AyBzi + AzBxj + AxByk - AyBxk - AzByi - AxBzj = (AyBz - AzBy)i + (AzBx - AxBz)j + (AxBy - AyBx)k

ตัวอย่าง กำหนดให้ A = 2i + 3j – 4k และ B = 5i + j จงหา BA BA = (5i + j)  (2i + 3j – 4k) = [(1)(– 4)]i + [– (5)( – 4)]j + [(5)(3) – (1)(2)]k = – 4i + 20j + 13k Ans

แบบฝึกหัด กำหนดให้ A = 2i + 3j – 4k และ B = 5i + j จงหา AB

เฉลยแบบฝึกหัด AB = 4i - 20j - 13k