โครงสร้างโปรแกรมภาษา C

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

Computer Language.
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
Introduction to C Introduction to C.
โครงสร้างภาษาซี เบื้องต้น
ฟังก์ชั่นในภาษาซี.
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
Introduction to C Programming
ครั้งที่ 8 Function.
การรับค่าและแสดงผล.
สายอักขระและ การประมวลผลสายอักขระ (String and String manipulation)
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
Structure Programming
Structure Programming
องค์ประกอบของโปรแกรม
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
Introduction to C Programming.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
การแสดงผล และการรับข้อมูล
รับและแสดงผลข้อมูล.
รูปแบบโครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซี.
ภาษาคอมพิวเตอร์.
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
ฟังก์ชั่น function.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
Lecture no. 2: Overview of C Programming
Arrays.
Week4 Data types, Variables, Operators and Input/output (ต่อ)
Surachai Wachirahatthapong
C Programming Lecture no. 6: Function.
SCC : Suthida Chaichomchuen
Programming With C Data Input & Output.
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
ตัวอย่างโปรแกรมคำนวณหาพื้นที่สี่เหลี่ยม
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Chapter 5 คำสั่งควบคุมการทำซ้ำ
Introduction to C Language
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
C language W.lilakiatsakun.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ประวัติและขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
Week 2 Variables.
การประมวลผลสายอักขระ
Computer Programming for Engineers
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Overview of C Programming
คำสั่งรับค่า และ แสดงผลค่า. คำสั่งรับ - แสดงผล 1. printf( ) เป็น ฟังก์ชันที่ใช้ในการ แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัว แปร ค่าคงที่ นิพจน์ออกมา ทางจอภาพ.
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Output of C.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
ตัวแปรและชนิดของข้อมูล (Variables & Data Types)
โครงสร้าง ภาษาซี.
การเขียน แบบวนซ้ำ , วนลูป
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
introduction to Computer Programming
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงสร้างโปรแกรมภาษา C บทที่ 2 โครงสร้างโปรแกรมภาษา C ผู้สอน : ครูพนัส กันแก้ว

หัวข้อ โปรแกรมภาษา การ Compile & Run โปรแกรม โครงสร้างโปรแกรมภาษา C คำสั่งแสดงผลลัพธ์ (Output) คำสั่งรับข้อมูล (Input)

2.1 โปรแกรมภาษา โปรแกรมภาษา ใช้ในการพัฒนาโปรแกรมสำหรับ งานเฉพาะตามที่ผู้ใช้ต้องการ ประเภทของโปรแกรมภาษา 1. ภาษาระดับต่ำ (Low-Level Language) เช่น ภาษาเครื่อง (Machine language) 2. ภาษาระดับกลาง (Middle-Level Language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) 3. ภาษาระดับสูง (High-Level Language) เช่น Pascal, Fortran, C, JAVA, ... 3

ภาษาเครื่อง ภาษาเครื่อง (Machine Language) เป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ ซึ่งเขียนเป็นรหัสเลข ฐาน 2 (0/1) และมีความเกี่ยวข้องกับอุปกรณ์ภายใน เครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ยุ่งยากต่อการพัฒนาโดยมนุษย์เรา ตัวอย่างเช่น Object Code 4

ภาษาแอสเซมบลี ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) เป็นภาษาที่เขียนโดยใช้คำสั่งเป็นคำเฉพาะใน ภาษาอังกฤษที่มนุษย์เข้าใจ แทนการใช้รหัสเลขฐาน 2 แต่ออกแบบมาเฉพาะสำหรับคอมพิวเตอร์แต่ละรุ่น ผู้เขียนโปรแกรมยังต้องทราบข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ อุปกรณ์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ (ยังยากต่อการพัฒนา) และต้องใช้ แอสเซมเบอร์ (Assembler) ในการแปล ภาษาแอสเซมบลี ให้เป็นภาษาเครื่อง 5

Assembly Code Object Code Assembler Object Code 6

ภาษาระดับสูง ภาษาระดับสูง (High-Level Languages) เช่น C, JAVA, เป็นภาษาที่พัฒนาได้ง่าย เพราะใช้คำสั่งเป็นภาษาอังกฤษ ใช้ คอมไพเลอร์ (Compiler) หรือ Interpreter ใน การแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง Compiler แปลทั้งโปรแกรม (เช่น Pascal, C, ...) Interpreter แปลทีละบรรทัด ตัวอย่าง โปรแกรมภาษา C 7

2.2 การ Compile ขั้นตอนการประมวลผลโปรแกรมภาษา C ขั้นตอนการแปล Source code (file) ของโปรแกรม ภาษา C ให้เป็น Machine code (Object file) C Libraries Source code file (FILE.c) Object file (FILE.obj) Editor (create & modify C code) Compiler (convert Source code  Machine code) Linker (add extra information) Executable file (FILE.exe) Errors/Warnings ขั้นตอนการประมวลผลโปรแกรมภาษา C Input data Executable program Output

Compile & Run โปรแกรมภาษา C จะอยู่ในรูปแบบของฟังก์ชัน ซึ่งมีอย่างน้อยหนึ่งฟังก์ชัน (คือ main) ตัวอย่างการ Edit โปรแกรมภาษา C

2.3 โครงสร้างโปรแกรม C Preprocessor Directive (ข้อความสั่งตัวประมวลผลก่อน) Main Function (ฟังก์ชันหลัก) void main() /* main function */ { /* Begin (เริ่มต้น) */ variable declaration; /* ประกาศตัวแปรที่เก็บข้อมูล */ statements; /* คำสั่งประมวลผล */ } /* End (จบ) */ ตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการพิมพ์ C Programming C Program คือ #include <stdio.h> /* Preprocessor directive */ void main() { printf(“C Programming\n”); } \n หมายถึง การย้าย cursor ไปบรรทัดใหม่ (newline)

2.4 คำสั่งในภาษา C ภาษา C ประกอบด้วยคำสั่งพื้นฐาน 4 ชนิด คือ 1. คำสั่งรับและแสดงผล (Input / Output Statements) บทที่ 2-3 2. คำสั่งคำนวณนิพจน์ (Expression Statements) บทที่ 4 3. คำสั่งทดสอบเงื่อนไข (Conditioning Statements) บทที่ 5 4. คำสั่งทำงานซ้ำ (Looping Statements) บทที่ 6 คำสั่งแต่ละชนิด อาจต้องใช้ตัวแปร (Variables) ในการ อ้างอิงข้อมูลที่เก็บอยู่ใน Memory ในบทนี้จะกล่าวถึงตัว แปร 2 ชนิด คือ ตัวแปร Integer ตัวแปร Floating-Point เช่น int x, y เช่น float area

2.5 คำสั่งแสดงผล printf (เป็นฟังก์ชันมาตรฐานของ C ใน stdio) ประกาศ stdio ในส่วน Preprocessor Directive ก่อนเรียกใช้ฟังก์ชัน printf ใน main รูปแบบ printf(“control string”, variable,…); variable เป็นตัวแปรใช้เก็บค่า (ที่เปลี่ยนแปลงได้) ใน Memory ในขณะประมวลผล … Memory variable control string ประกอบด้วย ข้อความอธิบาย เช่น printf(“C Programming”); %format เช่น %d, %f, %c, %s อักษรควบคุม เช่น \n (new line), … %d สำหรับ integer หรือ decimal %f สำหรับ real หรือ floating point

ตัวอย่าง 2.1 เขียนโปรแกรม พิมพ์คำว่า C Programming

2.6 คำสั่งรับข้อมูล scanf (เป็นฟังก์ชันมาตรฐานใน stdio.h) Address 0 1 2 3 4 … … Memory variable scanf (เป็นฟังก์ชันมาตรฐานใน stdio.h) รูปแบบ scanf(“%format,…”, &variable,…); &variable หมายถึง ตำแหน่งที่อยู่ (Address) ของตัว แปร variable ที่เก็บในหน่วยความจำ (&X) (X) %format เช่น %d, %f, %c, %s ตัวอย่างเช่น scanf(“%d”, &X); รับข้อมูลชนิด integer จากคีย์บอร์ด แล้วนำไปเก็บไว้ใน ตัวแปร X ที่ตำแหน่ง &X %d สำหรับ integer หรือ decimal %f สำหรับ real หรือ floating point

ตัวอย่าง 2.2 เขียนโปรแกรม แสดงการบวกค่าเลข 2 จำนวน (X, Y) และแสดง ผลบวก (Sum) … Memory X Y SUM #include <stdio.h> void main() { int X, Y, SUM; start Input X,Y SUM = X+Y Print SUM end 50 100 150 printf(“Enter X: ”); scanf(“%d”, &X); printf(“Enter Y: ”); scanf(“%d”, &Y); SUM = X + Y; printf(“Sum = %d\n”, SUM); } printf หมายถึง ฟังก์ชันแสดงผลลัพธ์ (Output) ในภาษา C scanf หมายถึง ฟังก์ชันรับข้อมูล (Input) ในภาษา C %d หมายถึง ชนิดของข้อมูลแบบ Integer (หรือ Decimal)

%format %format ระบุชนิดของตัวแปร ในคำสั่ง scanf, printf ชนิดข้อมูล ชนิดตัวแปร %format จำนวนเต็ม (integer) int %d จำนวนจริง (real) float %f #include <stdio.h> void main() { int X, Y, sum; printf(“Enter X: ”); scanf(“%d”, &X); printf(“Enter Y: ”); scanf(“%d”, &Y); sum = X + Y; printf(“sum = %d\n”, sum); } … Memory X Y SUM

ตัวอย่าง 2.3 เขียนโปรแกรมคำนวณพื้นที่ของสี่เหลี่ยม (Area) เมื่อ Area = Width x Length (กว้าง x ยาว) และแสดง ผลลัพธ์จากการคำนวณ start Input W,L Area = W * L Print Area end #include <stdio.h> void main() { int W, L; float Area; printf(“Enter width: ”); scanf(“%d”, &W); printf(“Enter length: ”); scanf(“%d”, &L); ผลลัพธ์ Enter width: _ 5 Area = W * L; printf(“Area = %f\n”, Area); } Enter length: _ 10 Area = 50.0

ตัวอย่าง 2.4 เขียนโปรแกรม แสดงการเปลี่ยนค่าข้อมูล ผลลัพธ์ (ที่รับมามีหน่วยเป็นฟุต) ให้เป็นนิ้ว … Memory #include <stdio.h> void main() { int F, Inches; start Input Feet Inches = Feet*12 Print Inches end F Inches printf("Enter feet: "); scanf("%d", &F); inches = F * 12; printf("= %d inches\n", Inches); } ผลลัพธ์ Enter feet: _ 2 = 24 inches

ฟังก์ชัน getchar, gets scanf เป็นฟังก์ชันที่รับข้อมูลได้ทุกชนิด จึงต้องระบุ “%format สำหรับข้อมูลแต่ละชนิด แต่สำหรับข้อมูลหรือตัวแปร Character สามารถเลือกใช้ ฟังก์ชัน getchar() รับหนึ่งตัวอักษร และต้องกด ENTER เป็นฟังก์ชันใน Library “stdio” getch() รับหนึ่งตัวอักษร แต่ไม่ต้องกด ENTER เป็นฟังก์ชันใน Library “conio” gets() รับหลายตัวอักษรเป็น String และต้องกด ENTER

ตัวอย่าง 2.5 เขียนโปรแกรม รับข้อมูล วัน (Day), เดือน (Month), ปี (Year) เช่น 1, November, 2010 และแสดงผลลัพธ์เป็นการพิมพ์ วันที่ในรูปแบบ Month day, year (เช่น November 1, 2010 ) ผลลัพธ์ … Memory #include <stdio.h> void main() { int Day, Year; char Month[20]; // string Enter Day: _ 1 1 Enter Month: _ November Day 2010 Year No v emb e r Enter Year: _ 2010 Month … Date is November 1, 2010 printf("Enter Day: "); scanf("%d", &Day); printf("Enter Month: "); scanf("%s", &Month); printf("Enter Year: "); scanf("%d", &Year) printf(“Date is %s %d, %d\n",Month, Day, Year); } fflush(stdin); getchar(); รอรับหนึ่งตัวอักษรจาก Keyboard ลบข้อมูลที่ค้างอยู่ใน Keyboard Buffer