เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีการผลิต และต้นทุนการผลิต
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 ประยุกต์ทฤษฎีอุปทานแรงงาน
รองศาสตราจารย์ดร. ภาวดี ทองอุไทย กรกฎาคม  แรงงานเข้าสู่ตลาดด้วยระดับการศึกษาและ ทักษะต่างกัน  หลังจากทำงาน ยังได้ฝึกอบรมเพิ่ม (on-the- job training)
บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363 Gender Economics
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471)
Specific Factor Model ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
เศรษฐศาสตร์แรงงาน ศ. 471 สหภาพแรงงาน
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
Lecture 8.
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
ตัวอย่าง: ตลาดปัจจัยการผลิตที่มีผู้ซื้อรายเดียว
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
รายงานที่ให้ทำ (ทุกคน)
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิต (Cost of Production)
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 1 บทนำ เศรษฐศาสตร์คืออะไร เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
การผลิตและต้นทุนการผลิต
ตลาดและการแข่งขัน.
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
พฤติกรรมผู้บริโภค.
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์การผลิต.
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
ความหมายของการบริการ
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
การวางแผนการผลิต และการบริการ
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
ต้นทุนการผลิต.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ตลาด ( MARKET ).
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ทฤษฎีการผลิต.
บทที่ 7 การดำเนินการผลิตในระบบอุตสาหกรรมเกษตร
บทที่1 การบริหารการผลิต
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน รองศาสตราจารย์ดร. ภาวดี ทองอุไทย กรกฎาคม 2552

เหตุใดหน่วยผลิต (firm) จึงต้องการจ้างแรงงาน? เพราะมีความต้องการสินค้าบริการจากผู้บริโภค หน่วยผลิตทำหน้าที่เป็นตัวกลาง อุปสงค์ต่อแรงงาน เป็น อุปสงค์ต่อเนื่อง ‘derived demand’ แรงงานต่างจากปัจจัยการผลิตอื่นๆ เพราะ.... สภาพการทำงาน สภาพสังคม โอกาสอื่นๆที่อาจเกิดขึ้นระหว่างทำงาน ลักษณะอื่นๆของหน่วยผลิต เช่น ชื่อเสียง เกียรติยศ

หน่วยผลิตตัดสินใจอย่างไร? ฟังชั่นการผลิต Production function: ปัจจัยการผลิต: แรงงาน Labour (E) และ ทุน capital (K) Q = f (E,K) สมมติว่าแรงงานเหมือนกันทุกประการ homogeneous พิจารณาเฉพาะจำนวนคนงาน (ไม่ใช่จำนวนชั่วโมง) Total product, marginal product, and average product Marginal product of labour (MPE) การเปลี่ยนแปลงในผลผลิต อันเกิดจากการจ้างแรงงานเพิ่มหนึ่งคน โดยปัจจัยการผลิตอื่นๆอยู่คงที่

กฎการลดน้อยถอยลงของผลผลิต Law of diminishing returns MP ของแรงงานคือ ความชันของเส้น total product อัตราการเปลี่ยนในผลผลิต เมื่อคนงานถูกจ้างเข้ามาเพิ่มขึ้น ในระยะแรกผลผลิตจะขยายตัวด้วยอัตราที่เพิ่มขึ้น เพราะ ..... แต่ในที่สุด ผลผลิตจะขยายตัวในอัตราที่ลดลง เพราะ กฎการลดน้อยถอยลงของผลผลิต Law of diminishing returns Average product of labour (AP) ปริมาณผลผลิตที่คนงานทำได้ ความสัมพันธ์ระหว่างเส้น marginal product และ average product

การแสวงหากำไรสูงสุด Profit maximization กำไร= PQ – WE – rK p = ราคาผลผลิต w = อัตราค่าจ้าง r = ราคาของสินค้าทุน สมมติว่าหน่วยผลิตเป็นส่วนย่อยของอุตสาหกรรมนั้น ราคาทุกอย่างอยู่นอกเหนือการควบคุม ‘หน่วยผลิตที่อยู่ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์’ แสวงหากำไรสูงสุดโดย จ้างแรงงาน และ สินค้าทุน ในจำนวนที่เหมาะสม

การตัดสินใจจ้างงานในระยะสั้น ระยะสั้นหมายถึง ไม่สามารถเพิ่ม / ลดขนาดของโรงงานได้ ไม่สามารถซื้อ/ขายอุปกรณ์เครื่องจักรได้ สินค้าทุนมีปริมาณคงที่ หน่วยผลิตจะพิจารณา เส้น MP ที่เป็นอยู่

มูลค่าของผลผลิตหน่วยสุดท้าย value of marginal product (VMP) มูลค่าตัวเงินของสิ่งที่คนงานหน่วยเพิ่มผลิตได้ VMPE = p x MPE Law of diminishing returns ผลประโยชน์ต่อหน่วยผลิตจากการจ้างแรงงานเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แต่ในที่สุด ก็จะลดลง

มูลค่าของผลผลิตเฉลี่ย Value of average product Monetary value of output per worker VAPE = p x APE หน่วยผลิตควรจ้างคนงานจำนวนเท่าไร? จ้างไปเรื่อยๆ จนถึงจุดที่ อัตราค่าจ้าง = มูลค่าของผลผลิตหน่วยสุดท้ายของแรงงาน wage rate = value of marginal product of labour

เส้นอุปสงค์ในระยะสั้นของหน่วยผลิต เกิดอะไรขึ้นกับการจ้างงานของหน่วยผลิต เมื่อ ค่าจ้าง เปลี่ยนไป โดยที่ทุนอยู่คงที่ เส้นอุปสงค์แรงงาน ขึ้นอยู่กับ มูลค่าของ เส้น marginal product เมื่อค่าจ้างลดลง หน่วยผลิตจะจ้างคนงานมากขึ้น สำหรับแต่ละหน่วยผลิต เป็นเพียงรายเล็กๆ ในตลาด ราคาของ ผลผลิตจึงถูกกำหนดโดยตลาด หน่วยผลิตไม่สามารถมีอิทธิพลต่อราคาผลผลิตได้

เส้นอุปสงค์แรงงานของอุตสาหกรรม (industry) ถ้าหากทุกหน่วยผลิตจ้างคนงานเพิ่ม เมื่อค่าจ้างลดลง ผลผลิตรวมของอุตสาหกรรมนั้นก็จะขยายออกไปมาก  ราคาผลผลิตลดลง ถ้าหน่วยผลิตทั้งหมดเพิ่มการจ้างงาน มูลค่าของผลผลิตหน่วยสุดท้ายก็จะลดลงด้วย  เส้นอุปสงค์แรงงานเคลื่อนไปทางซ้ายมือ