ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
Advertisements

ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายได้ดีในน้ำ
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
ที่มา ที่มา โครงงาน เห็ดนางฟ้า.
สารกัดกร่อน.
หลักสำคัญในการล้างมือ
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
การทดสอบหาปริมาณแคลเซียมในน้ำดื่ม
ผู้จัดทำ เสนอ ดร.สุมน คณานิตย์
สารฟอกขาวในถั่วงอก โครงงานสุขภาพ เสนอ ดร. สุมน คณานิตย์
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคท้องเสีย จัดทำโดย ด.ญ.จุฬารัตน์ น้อยจาด เลขที่ 7 ม.1/4
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
จับประเด็นเตรียมพร้อมสู่HA
ด.ช.สกลพัตร พันธุ์บุญปลูก ม.2/8 เลขที่10 ปีการศึกษา 2548
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
ผงชูรสแท้หรือปลอม.
สารเมลามีน.
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
การสำรวจข้อมูลตามโครงการเฝ้าระวัง ภาวะขาดไอโอดีนแบบบูรณาการ ปี 57
การป้องกันตนเองของผู้ปฏิบัติงานพ่นเคมี
ตัวอย่างแผนผังสถานที่ผลิตยาแผนโบราณ
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
สวัสดีค่ะ.
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น
การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร
โรคอุจจาระร่วง.
เครื่องถ่ายเอกสาร.
การบริหารยาทางฝอยละออง
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
L O G O ชุดทดสอบ กรดเรติโน อิก ใน เครื่องสำอา ง กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวง สาธารณสุข.
ชุดทดสอบไฮโดรควิโนนในเครื่องสำอาง
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
โซเดียมไทโอไนต์ หรือ โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ สารห้ามใช้
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
และความเป็นกรด-ด่างของดิน
อันตรายจากสารปรุงแต่งอาหาร
การทำแผลชนิดแห้ง( Dry dressing )
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
การตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด นางสาวนิตติยา บุตรวงษ์
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับร้านอาหาร
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
Tonsillits Pharynngitis
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
มาตรฐานการสุขาภิบาลอาหาร สำหรับโรงอาหาร
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
สารที่ใช้ในการทำความสะอาด
“เอ็น (N) พี (P) และ เค (K)”
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
โดย ด.ช.กฤษณรักษ์ ปิ่นตา ม.1/4 เลขที่ 16
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับแผงลอยจำหน่ายอาหาร
เรื่อง น้ำสมุนไพร.
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
ใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ...
ห้องมืด(Dark Room) ห้องที่ใช้ในการทำงานทาง photoใช้สำหรับ การล้างฟิล์ม และอัดขยายภาพห้องมืดใช้ป้องกันแสงเข้าไป ห้องมืด แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 1. ห้อง มืดสำหรับล้างฟิล์ม.
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์ ฟอร์มาลิน ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์ ลักษณะเป็นของเหลวใส ไม่มีสี มีกลิ่นฉุน แสบจมูก และตา

ผลิตเคมีภัณฑ์พลาสติก สิ่งของ ผ้า รักษาผ้าไม่ให้ยับ หรือ ย่น ใช้ในอุตสาหกรรม ผลิตเคมีภัณฑ์พลาสติก สิ่งของ ผ้า รักษาผ้าไม่ให้ยับ หรือ ย่น ใช้ในทางการแพทย์

ขึ้นกับปริมาณสารที่ได้รับ ความเป็นพิษ ขึ้นกับปริมาณสารที่ได้รับ สัมผัสหรือสูดดม จะทำให้ผิวหนังอักเสบ ระคายเคืองตา จมูก ระบบทางเดินหายใจ และระบบทางเดินอาหาร

รับสารนี้จำนวนมากเข้าไปทางปากโดยตรง ทำให้เกิดพิษเฉียบพลัน ปวดท้องอย่างรุนแรง อาเจียน อุจจาระร่วง ถ้ากินเข้าไปมาก ประมาณ 30 - 60 มิลลิลิตร มีผลให้การทำงานของตับ ไต หัวใจ สมองเสื่อมลง หมดสติและตาย เนื่องจากระบบหมุนเวียนโลหิตล้มเหลว

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 93 (พ.ศ. 2528) กำหนดให้ ฟอร์มาดีไฮด์ และพาราฟอร์มาดีไฮด์ เป็นวัตถุที่ห้ามใช้ในอาหาร

จำนวนตัวอย่างที่ตรวจได้ 1 ตัวอย่าง ชุดทดสอบฟอร์มาลิน จำนวนตัวอย่างที่ตรวจได้ 1 ตัวอย่าง ระดับต่ำสุดที่ตรวจได้ 0.5 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม

อุปกรณ์ชุดทดสอบ 1. ผงทดสอบฟอร์มาลิน 1 1 ขวด 2.ผงทดสอบฟอร์มาลิน 2 1 ขวด 1. ผงทดสอบฟอร์มาลิน 1 1 ขวด 2.ผงทดสอบฟอร์มาลิน 2 1 ขวด 3.น้ำยาทดสอบฟอร์มาลิน 3 1 ขวด 4.ถ้วยยาพลาสติก 1 ใบ 5.หลอดหยด 3 หลอด 6. คู่มือชุดทดสอบ 1 แผ่น

วิธีการทดสอบ ก. เติมน้ำดื่มบรรจุขวดลงในผงทดสอบฟอร์มาลิน 1 จำนวน 50 มิลลิลิตร ปิดฝาจุกให้สนิท เขย่าให้ละลาย ข. เติมน้ำดื่มบรรจุขวดลงในผงทดสอบฟอร์มาลิน 2 จำนวน 50 มิลลิลิตร ปิดฝาจุกให้สนิท เขย่าให้ละลาย

1.1 ถ้าตัวอย่างเป็นของเหลวเทน้ำแช่อาหารลงในถ้วยยาพลาสติก ประมาณ 5 มิลลิลิตร 1.2 ถ้าตัวอย่างไม่มีน้ำ ให้ใช้น้ำสะอาด ล้างตัวอย่าง นำน้ำล้างใส่ลงในถ้วยพลาสติก ประมาณ 5 มิลลิลิตร

2. ใช้หลอดหยดหลอดที่ 1 ดูดน้ำในข้อ ก 2. ใช้หลอดหยดหลอดที่ 1 ดูดน้ำในข้อ ก. ประมาณ 1 มิลลิลิตร (2 ขีด) ใส่ลงในถ้วยยาพลาสติกข้อ 1 เขย่า

3. ใช้หลอดหยดหลอดที่ 2 ดูดน้ำในข้อ ข 3. ใช้หลอดหยดหลอดที่ 2 ดูดน้ำในข้อ ข. ประมาณ 1 มิลลิลิตร (2 ขีด) ใส่ลงในถ้วยยาพลาสติกข้อ 1 เขย่า

4. ใช้หลอดหยดหลอดที่ 3 ดูดน้ำยาทดสอบฟอร์มาลิน 3 ประมาณ 1 มิลลิลิตร (2 ขีด) ใส่ลงในถ้วยยาพลาสติกในข้อ 3 เขย่า สังเกตสีของสารละล่าย

การประเมินผล ถ้าสารละลายเป็นสีชมพูถึงสีแดง แสดงว่ามีฟอร์มาลิน ปนอยู่ในตัวอย่างอาหารนั้น

การปฏิบัติเมื่อใช้ชุดทดสอบเสร็จแล้ว 1. สารละลายฟอร์มาลิน 1,2 และน้ำยาทดสอบฟอร์มาลิน 3 : ปิดจุก ให้แน่นแล้วเก็บลงกล่อง 2. ถ้วยยาพลาสติก : เทน้ำในถ้วยทิ้ง ล้างด้วยน้ำ สะอาด คว่ำให้แห้ง แล้วเก็บลงกล่อง 3. หลอดหยด : ใช้หลอดหยดดูดน้ำสะอาดแล้วบีบทิ้ง ทำซ้ำ 3-4 ครั้ง ทิ้งไว้ให้แห้ง แล้วเก็บลงกล่อง

การเก็บรักษา/อายุการใช้งาน ข้อควรระวัง  น้ำยาทดสอบฟอร์มาลิน 3 มีสภาพเป็นกรด หากหกเปื้อนมือหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายให้ล้างด้วยน้ำและฟอกสบู่ให้สะอาด  อย่าวางชุดทดสอบใกล้มือเด็ก การเก็บรักษา/อายุการใช้งาน  เก็บที่อุณหภูมิห้อง/ 2 ปี  ผงทดสอบฟอร์มาลิน 1 และ 2 เมื่อละลายด้วยน้ำ ดื่มบรรจุแล้ว จะเก็บที่อุณหภูมิห้องได้ ประมาณ 2 เดือน