Computer Language.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
INTRODUCTION TO C LANGUAGE
Introduction to C Introduction to C.
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างภาษาซี เบื้องต้น
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
หลักการเบื้องต้นของภาษาซี
Introduction to C Programming
ครั้งที่ 8 Function.
ปฎิบัติการที่ ห้า.
Department of Computer Business
การรับค่าและแสดงผล.
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Structure Programming
Structure Programming
องค์ประกอบของโปรแกรม
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
PHP LANGUAGE.
โครงสร้างภาษาซี.
ฟังก์ชั่น function.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
Lecture no. 2: Overview of C Programming
ตัวแปรชุด.
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
บทที่ 13 Pre-processor directive & macro Kairoek choeychuen
C Programming Lecture no. 6: Function.
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
C# Programming Exceed Camp: Day 3.
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
Introduction to C Language
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
Week 2 Variables.
เสรี ชิโนดม ฟังก์ชัน เสรี ชิโนดม
Computer Programming for Engineers
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
Overview of C Programming
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Output of C.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
โครงสร้าง ภาษาซี.
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมด้วย C#
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
โครงสร้างภาษาซี C ++ structure
บทที่ 3 โครงสร้างภาษาซีเบื้องต้น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Computer Language

Basic of C language

Basic of C language

ขั้นตอนการแปลภาษาโปรแกรม Basic of C language การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงเป็นภาษาเครื่อง อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter) คอมไพเลอร์ (Compiler) ขั้นตอนการแปลภาษาโปรแกรม

Basic of C language Compiler

กระบวนการแปลโปรแกรม Basic of C language ---- ซอร์สโค้ด โปรแกรมที่สามารพทำงานได้ โดยไม่ต้องมี source code

ไฟล์โปรแกรมที่ได้จากการแปลภาษา เมื่อเขียนโปรแกรมเสร็จ ผ่านการแปลภาษาแล้วผลที่ได้ก็จะเป็นไฟล์โปรแกรมที่สามารถนำไปใช้ได้เลย โดยอาจก๊อปปี้ลงดิสก์ไปเปิดที่เครื่องอื่นๆ ได้ ซึ่งจะเป็นไฟล์โปรแกรมแยกจากตัวซอร์สโค้ดที่เราเขียน ไฟล์โปรแกรมที่ได้นั้นเป็นไฟล์แบบเลขฐานสอง หรือ ไบนารีไฟล์(.exe)เรียกว่าเอ็กซีคิวเทเบิ้ลไฟล์(executable file)

ภาษาคอมพิวเตอร์ โปรแกรมที่รันบนวินโดว์ C/C++, Visual Basic, Delphi Basic of C language ภาษาคอมพิวเตอร์ โปรแกรมที่รันบนวินโดว์ C/C++, Visual Basic, Delphi โปรแกรมที่ทำงานบนเว็บ PHP, ASP, JAVA, Perl, Tcl, C# โปรแกรมฐานข้อมูล Visual Basic

Basic of C language

โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี Basic of C language โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี void main(void) { } Statements ; Local Declarations Preprocessor directive Global Declarations main function User define functions int function () โครงสร้างภาษาซีประกอบด้วยหลายส่วน แต่ในการเขียนไม่จำเป็นจะต้องเขียนทุกส่วน

ฟังก์ชันหลักของโปรแกรม (Main Function) Basic of C language ฟังก์ชันหลักของโปรแกรม (Main Function) ส่วนนี้ทุกโปรแกรมจะต้องมี โดยโปรแกรมหลักจะเริ่มต้นด้วย main() และตามด้วยเครื่องหมายปีกกาเปิด ‘{’ และปีกกาปิด ‘}’ ระหว่างปีกกาจะประกอบไปด้วยคำสั่ง(Statement) ต่างๆ ที่จะให้โปรแกรมทำงาน แต่ละคำสั่งจะต้องจบด้วยเซมิโคลอน ‘;’ (Semicolon) #include <stdio.h> void main(void) { ... Statement ; }

ฟังก์ชันหลักของโปรแกรม (Main Function) Basic of C language ฟังก์ชันหลักของโปรแกรม (Main Function) ตัวอย่าง #include <stdio.h> int feet,inches; void main() { feet = 6; inches = feet * 12; printf("Height in inches is %d",inches); } ผลการทำงาน Height in inches is 72

การใช้ Preprocessor Directive Basic of C language การใช้ Preprocessor Directive ทุกโปรแกรมต้องมี ใช้เรียกไฟล์ที่โปรแกรมใช้ในการทำงานร่วมกัน ใช้กำหนดค่าคงที่ให้กับโปรแกรม เริ่มต้นด้วยเครื่องหมาย # ที่เราจะใช้กันมี 2 directives คือ #include ใช้สำหรับเรียกไฟล์ที่โปรแกรมใชในการทำงาน #define ใช้สำหรับกำหนดมาโครที่ให้กับโปรแกรม #include #define #undef #if #ifdef #ifndef #else #elif #endif #line #error #pragma

#include <ชื่อไฟล์> หรือ #include “ชื่อไฟล์” Basic of C language การใช้ #include วิธีการใช้งาน #include <ชื่อไฟล์> หรือ #include “ชื่อไฟล์” ตัวอย่าง #include <stdio.h> (เป็นการเรียกใช้ไฟล์ stdio.h เข้ามาในโปรแกรม) #include <mypro.h> (เป็นการเรียกใช้ไฟล์ mypro.h เข้ามาในโปรแกรม) < > จะเรียกไฟล์ใน directory ที่กำหนดโดยตัวคอมไพล์เลอร์ “ ” จะเรียกไฟล์ใน directory ทีทำงานอยู่ในปัจจุบัน

#define ชื่อ ค่าที่ต้องการ Basic of C language การใช้ #define วิธีการใช้งาน #define ชื่อ ค่าที่ต้องการ ตัวอย่าง #define START 10 (กำหนดค่า START = 10) #define A 3*5/4 (กำหนดค่า A=3*5/4) #define pi 3.14159 (กำหนดค่า pi = 3.14159) #define sum(a,b) a+b (กำหนดค่า sum(ตัวแปรที่1, ตัวแปรที่2) = ตัวแปรที่1+ตัวแปรที่2

ส่วนประกาศ (Global Declarations) Basic of C language ส่วนประกาศ (Global Declarations) เป็นการประกาศตัวแปรเพื่อใช้งานในโปรแกรม โดยตัวแปรนั้นสามารถใช้ได้ในทุกที่ในโปรแกรม เป็นส่วนที่ใช้ในการประกาศ Function Prototype ของโปรแกรม ส่วนนี้ในบางโปรแกรมอาจจะไม่มีก็ได้ ตัวอย่าง int summation(float x, float y) ; (ประกาศ function summation) int x,y ; (กำหนดตัวแปร x,y เป็นจำนวนเต็ม) float z=3; (กำหนดตัวแปร z เป็นจำนวนจริง)

การประกาศตัวแปร int i; ประกาศ i ให้ชนิดเป็น integer Basic of C language การประกาศตัวแปร รูปแบบของการประกาศตัวแปร ชนิดตัวแปร ชื่อตัวแปร; int i; ประกาศ i ให้ชนิดเป็น integer float realnum; ประกาศ realnum ให้มีชนิดเป็น float char ch; ประกาศ ch ให้ชนิดเป็น character

ชนิดของตัวแปร Basic of C language char -128 ถึง 127 1 short int ประเภทข้อมูล คำอธิบาย ค่าที่เก็บได้ ขนาด (ไบต์) char ตัวอักษร 1 ตัว -128 ถึง 127 1 short ตัวเลขจำนวนเต็ม int -32768 ถึง 32767 2 long -232 ถึง 232-1 4 float ตัวเลขทศนิยม 3.4E+/-38 (7 ตำแหน่ง) double 1.7E+/-308 (15 ตำแหน่ง) 8

หลักการตั้งชื่อ (Identifier) Basic of C language หลักการตั้งชื่อ (Identifier) ชื่อ (Identifier) ไอเดนติฟายเออร์ เป็นชื่อที่ผู้ใช้กำหนดขึ้นในโปรแกรม เช่น ชื่อค่าคงที่ ชื่อตัวแปร ชื่อฟังก์ชัน เป็นต้น ต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษ (ตัวใหญ่หรือเล็กก็ได้) หรือขีดล่าง ‘_’ ตามด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตัวเลข หรือขีดล่าง (Underscore) ‘_’ ไม่มีช่องว่างหรือตัวอักษรพิเศษอื่นๆ เช่น ‘!’, ‘@’, ‘#’, ‘$’, ‘%’, ‘^’ เป็นต้น ตัวพิมพ์ใหญ่และเล็กจะเป็นคนละตัวกันเช่น NAME, name, Name, NamE ห้ามซ้ำกับคำสงวน Reserve Words ของภาษา C ห้ามตั้งชื่อซ้ำกับ Function ที่อยู่ใน Library ของภาษา C

คำสงวน Reserve Words ของภาษา C Basic of C language คำสงวน Reserve Words ของภาษา C auto double int struct break else long switch case enum register typedef char extern return union const float short unsigned continue for signed void default goto sizeof volatile do if static While asm _cs _ds _es _ss cdecl far huge interrupt near pascal _export

วีธีการสร้างตัวแปรและกำหนดค่า Basic of C language วีธีการสร้างตัวแปรและกำหนดค่า #include <stdio.h> void main () { int age; char sex; float grade; age = 20; sex = ‘ f ’; grade = 3.14; } #include <stdio.h> void main () { int age = 20; char sex = ‘ f ’; float grade = 3.14; char name[10] = “malee” printf(“you are %s\n”,name); ... }

นิพจน์ นิพจน์อาจประกอบด้วย ตัวแปร ค่าคงที่ การเรียกใช้ฟังก์ชัน Basic of C language นิพจน์ นิพจน์อาจประกอบด้วย ตัวแปร ค่าคงที่ การเรียกใช้ฟังก์ชัน หรือมีตัวดำเนินการร่วมอยู่ก็ได้ a + b x = y c = a + b x == y ++i

Basic of C language ตัวดำเนินการ ลำดับความสำคัญมาก ลำดับความสำคัญน้อย