โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Computer Language.
Advertisements

บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
INTRODUCTION TO C LANGUAGE
Introduction to C Introduction to C.
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างภาษาซี เบื้องต้น
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ฟังก์ชั่นในภาษาซี.
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
Introduction to C Programming
BC322 ครั้งที่ 6 Text file BC322 : computer Programming (Week6)
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
Department of Computer Business
Chapter 7 ขอบเขตของตัวแปร Variable Scope.
สภาวะแวดล้อมในขณะโปรแกรมทำงาน
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
Structure Programming
Structure Programming
องค์ประกอบของโปรแกรม
Introduction to C Programming.
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
รับและแสดงผลข้อมูล.
รูปแบบโครงสร้างภาษาซี
PHP LANGUAGE.
โครงสร้างภาษาซี.
โดย อาจารย์ณัฐพงศ์ พยัฆคิน
ฟังก์ชั่น function.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
บทที่ 13 Pre-processor directive & macro Kairoek choeychuen
C Programming Lecture no. 6: Function.
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
Lecture 4 องค์ประกอบภาษา C To do: Hand back assignments
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Introduction to C Language
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
คำสั่งแสดงผลในภาษา PHP
ใบงานที่ 3 โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ประวัติและขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
Week 2 Variables.
Week 12 Engineering Problem 2
เสรี ชิโนดม ฟังก์ชัน เสรี ชิโนดม
การประมวลผลสายอักขระ
Computer Programming for Engineers
โปรแกรมประยุกต์อื่นๆ
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
คำสั่งรับค่า และ แสดงผลค่า. คำสั่งรับ - แสดงผล 1. printf( ) เป็น ฟังก์ชันที่ใช้ในการ แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัว แปร ค่าคงที่ นิพจน์ออกมา ทางจอภาพ.
หลักการสร้างสรรค์ชุดคำสั่ง ๓
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
โครงสร้าง ภาษาซี.
บทที่ 9 การสร้างและใช้ งานฟังก์ชั่น C Programming C-Programming.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
Function ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. What is a function ฟังก์ชันในภาษา C เป็นโปรแกรมที่ถูกออกแบบมาเพื่อ ใช้แก้ปัญหางานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะ ฟังก์ชันจะเปลี่ยน input.
1 Functions กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
Function. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ให้รู้จักว่าฟังก์ชันคืออะไร ให้รู้จักว่าเราสร้างฟังก์ชันเพื่อจุดประสงค์ใด หรือ เพื่อประโยชน์ใด ให้รู้จักประเภทของฟังก์ชัน.
เริ่มต้นเขียนโปรแกรมภาษาจา วา (Introduction to JAVA Programming)
บทที่ 10 การจัดการไฟล์ อาจารย์ศศลักษณ์ ทองขาว สงวนลิขสิทธิ์ © 2547 มหาวิทยาลัยราช ภัฏสงขลา C Programming C-Programming.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน

โครงสร้างภาษา C ส่วนของเฮดเดอร์ไฟล์ ส่วนของตัวแปร Global returnType ชื่อฟังก์ชัน (argumentType) { } ส่วนของตัวแปร Local ส่วนของตัวโปรแกรม ส่วนของตัวส่งค่ากลับ

1. ส่วนของเฮดเดอร์ไฟล์ (Header File or Processing Directive) ส่วนนี้จะมีจุดสังเกตที่สำคัญคือจะขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย # เสมอ การทำงานของคอมไพเลอร์จะทำงานในส่วนนี้เป็นส่วนแรก ในส่วนนี้เป็นส่วนที่เก็บไลบรารีมาตรฐานของภาษา C ซึ่งจะถูกดึงเข้ามารวมกับโปรแกรมในขณะแปลภาษาโปรแกรม (Compile) โดยใช้คำสั่ง # include ซึ่งสามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ คือ รูปแบบที่ 1 : #include<HeaderName> รูปแบบที่ 2 : #include “HeaderName” โดยที่ HeaderName เป็นชื่อของ header file ทั้งสองแบบนี้มีความแตกต่างกันคือ แบบ <…..> คอมไพเลอร์จะค้นหาเฮดเดอร์ไฟล์จากไลบรารีของภาษา C เพียงที่เดียวเท่านั้น ส่วนที่ใช้เครื่องหมาย “……” คอมไพเลอร์จะค้นหาเฮดเดอร์ไฟล์จากไลบรารีที่เก็บ Source Code ของเราก่อน ถ้าหากไม่เจอจะไปค้นหาที่ไลบรารีของภาษา C เฮดเดอร์ไฟล์จะมีนามสกุลเป็น .h เท่านั้น เฮดเดอร์ไฟล์ที่สำคัญที่ขาดไม่ได้คือ stdio.h

2. ส่วนของตัวแปร Global เป็นส่วนประกาศตัวแปรที่สามารถใช้ได้ทั้งโปรแกรม ส่วนนี้จะมีหรือไม่มีก็ได้ 3. ส่วนของฟังก์ชัน (Function) เป็นส่วนการทำงานของโปรแกรม ในโครงสร้างภาษา C จะบังคับให้มีอย่างน้อย 1 ฟังก์ชันคือ ฟังก์ชัน main() ซึ่งเป็นฟังก์ชันเริ่มการทำงานของโปรแกรม (คอมไพเลอร์จะประมวลผลที่ฟังก์ชัน main() เป็นฟังก์ชันแรก) โดยในขอบเขตของฟังก์ชันจะเริ่มต้นด้วยเครื่องหมาย { และสิ้นสุดด้วยเครื่องหมาย } 4. ส่วนของตัวแปร Local เป็นส่วนประกาศตัวแปรที่สามารถใช้ได้เฉพาะภายในฟังก์ชันของตนเองเท่านั้น ส่วนนี้จะมีหรือไม่มีก็ได้ 5. ส่วนของตัวโปรแกรม เป็นส่วนคำสั่งการทำงานของโปรแกรม โดยที่คำสั่งแต่ละคำสั่งจะต้องจบด้วยเครื่องหมาย ; เสมอ 6. ส่วนของตัวส่งค่ากลับ เป็นส่วนของการส่งค่าข้อมูลกลับเมื่อฟังก์ชันจบการทำงาน โดยค่าที่ส่งกลับจะต้องเป็นค่าที่มีชนิดของข้อมูลตรงกับชนิดของข้อมูลที่ฟังก์ชันคืนค่ากลับ (Return Type) ในกรณีไม่ต้องการให้มีการส่งค่ากลับ สามารถกำหนดได้โดยใช้คีย์เวิร์ด void

ตัวอย่าง #include<stdio.h> #include<conio.h> Void main(void) { printf(“Welcome to C Programming”); getch(); }

อธิบายโปรแกรม #include<stdio.h> // เป็นการเรียกใช้ส่วนของเฮดเดอร์ไฟล์ เกี่ยวกับการจัดการอินพุตและเอาต์พุต #include<conio.h> // เป็นการเรียกใช้ส่วนของเฮดเดอร์ไฟล์ เกี่ยวกับการจัดการเกี่ยวกับหน้าจอทั้งหมด Void main(void) //ส่วนของฟังก์ชัน main() โดยประกาศชนิดข้อมูลที่คืนค่ากลับเป็น void และค่าที่รับเข้ามาในฟังก์ชันเป็น void หมายถึง ฟังก์ชันนี้จะไม่มีการคืนค่าใดๆ กลับออกไป และไม่มีการรับค่าใด ๆ เข้ามาในฟังก์ชัน { // ส่วนเริ่มต้นของฟังก์ชัน main() printf(“Welcome to C Programming”); //เป็นคำสั่งแสดงผลทางจอภาพ getch(); //เป็นคำสั่งรับอักขระจากแป้นพิมพ์ เพื่อกำหนดไม่ให้โปรแกรมปิดหน้าต่างผลลัพธ์ เมื่อโปรแกรมจบการทำงาน } // ส่วนสิ้นสุดของฟังก์ชัน main()

- ตัวแปรและชนิดของข้อมูลในภาษา C - กฎการตั้งชื่อตัวแปรในภาษา C ให้นักเรียนค้นหาข้อมูลในหัวข้อต่อไปนี้ แล้วเขียนลงในกระดาษขนาด A4 กำหนดส่งในคาบเรียนครั้งถัดไป.... !!! - ตัวแปรและชนิดของข้อมูลในภาษา C - กฎการตั้งชื่อตัวแปรในภาษา C