On Line Training Program

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประภัสสร คำยวง นักวิชาการสาธารณสุข
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การสังเกต อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การตบ (Spike) การตบ (Spike) เป็นทักษะที่สร้างความตื่นเต้นเร้าใจในการแข่งขัน เป็นทักษะที่จูงใจให้เด็กๆ อยากเล่นวอลเลย์บอลมากที่สุด สำหรับเนื้อหาในตอนนี้เป็นภาพรวมในด้านต่างๆ.
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนาการปิด การเจรจาต่อรอง
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
Ultrasonic sensor.
บทที่ 8 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
Use Case Diagram.
ระบบอนุภาค.
การติดตาม และประเมินโครงการ.
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
การสอบถาม อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การนำเสนอแฟ้มผลงานรับฟังความคิดเห็น (ประชาพิจารณ์)
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การแก้ไขปัญหาและการจัดการความขัดแย้ง
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
Mind Mapping.
สถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ
กติกาข้อ 17 การเล่นลูกจากประตู (The Corner Kick)
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
การสั่งการและ การมอบหมายงาน
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
การบริหารจัดการ PDCA cycle
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
ประมวลผลการเรียนรู้ การพัฒนาหลักสูตร E Learning "นพลักษณ์ฯ ขั้นต้น” 5 มิถุนายน -18 กันยายน 2551 สวทช. นำประสบการณ์จากกิจกรรมเชื่อโยงกับ Core Competency.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
ADDIE Model.
มาตราการตอบโต้การต่อต้านทางอิเล็กทรอนิกส์
การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

On Line Training Program การทำการรบที่ระยะนอกสายตา(BVR Engagements) By Tomcat and Vulture, Updates by Marlin and Redeye On Line Training Program Translated by Nuke]v[ On Line Training Program Thai Version 1.0

จุดประสงค์ในการเรียนรู้ที่ต้องการ การสู้รบที่ระยะนอกสายตา จุดประสงค์ : เพื่อเข้าใจวิธีใช้โหมดเรดาห์ A-A ที่เหมาะสม, สัญลักษณ์บน HUD , และ RWR เพื่อเข้าใจสถานะทั้ง 6 ของการเข้ารบ BVR เพื่อรู้วิธีใช้อาวุธของคุณอย่างมีประสิทธิภาพในการรบที่ระยะนอกสายตา (BVR) , รวมถึงเข้าใจขอบเขตการมีอานุภาพของอาวุธ (Weapon Envelope) , DLZ (Develop Launch Zone), และแนวคิดของ A-Pole กับ E-Pole สามารถสาธิตความรู้ของคุณตามเรื่องที่กล่าวข้างบนในการเข้ารบ 2v1 BVR http//:FreeBirdsWing.org © May 2004

BVR: Radar Modes (RWS) RWS (Range While Search) Mode โหมดที่ควรเลือกใช้เมื่อต้องการค้นหาเป้าหมายหรือคงรักษาการล็อคและติดตามดูข้อมูลจากเป้าหมายเดียว Target designated once RWS Mode Target designated twice. Other contacts disappear. RWS STT (Single Target Track) Mode.(เข้าสู่โหมดนี้โดยการกำหนดเป้าสองครั้ง) โฟกัสเรดาห์ไปที่เป้าหมายที่สนใจเพียงเป้าหมายเดียว ผลที่ได้คือข้อมูลเป้าที่ติดตามที่แม่นยำกว่า และการล็อคที่ยากสำหรับข้าศึกที่จะทำลายด้วย ECM หรือการบังคับบิน RWS SAM (Situational Awareness Mode)…เข้าสู่โหมดนี้โดยการกำหนดเป้าหมายหนึ่งครั้ง..รักษาประสิทธิภาพการตรวจหา และนำแสดงข้อมูลที่ติดตามหนึ่งเป้าหมาย RWS Mode ใช้อัตราการสแกนที่เร็ว กวาดพื้นที่กว้าง และเป้าหมายที่ถูกตรวจพบถูกนำแสดงได้เกือบจะทันที http//:FreeBirdsWing.org © May 2004

BVR: Radar Modes (TWS) TWS (Track While Scan) Mode เป้าหมายที่ถูกตรวจจับได้จะไม่ถูกนำแสดงโดยทันทีเนื่องจากเรดาห์จำเป็นต้องทำกระบวนการติดตามก่อน และระยะที่ตรวจหาแคบกว่า RWS เล็กน้อย ต้องการกระบวนการเพิ่มเติมในการคงรักษาการติดตามเป้าหมายทั้งหมด ส่งผลให้มีความถี่ในการแสดงข้อมูลใหม่น้อยลงและยากขึ้นในการคงรักษาการติดตามข้อมูล ดังนั้นมันจะง่ายขึ้นที่จะสูญเสียการล็อคจากเป้าหมายที่กำลังบังคับบิน หรือกำลังใช้ ECM มุมตำแหน่งจากท้าย ทิศทางที่เป้าหมายไป ความเร็วของเป้าหมาย อัตราเร็วเข้าหา คงรักษาข้อมูลทิศทางและความสูงของหลายเป้าหมาย Note that due to a bug in SP3 and SP4, TWS will usually maintain track on a target even when lock and track information has been lost, and even when the target is outside the gimbal limits of the radar. http//:FreeBirdsWing.org © May 2004

BVR: Radar Modes (VS) VS (Velocity Search) Mode โหมดนี้มีค่า default ที่การสแกนระยะ 80 nm และตรวจหาเครื่องบินที่มีความเร็วเข้าหามาทางคุณ และพิจารณาตัดสินค่าอัตราเร็วเข้าหา ดังนั้นมันจะแสดงค่าเครื่องบินที่คุณกำลังบินเข้าใกล้และแซง เมื่อกำหนดเป้าหมายจากโหมด VS จะเข้าสู่ STT โหมด ตัวบอกสเกลความเร็วจะแทนที่สเกลระยะทาง และแสดงเป็น 1200 หรือ 2400 น็อต ความเร็วจะแสดงได้จากตำแหน่งของมันที่บนสเกล ถ้าสเกลถูกเซตไว้ที่ 1200 น็อต ค่าที่ได้รับที่บนสุดของจอจะมีค่า 1200 น็อต ที่ตำแหน่งต่ำกว่านั้นบนจอแสดงว่ากำลังเข้าใกล้ที่อัตราเร็วต่ำกว่า สเกลนี้ไม่ได้ระบุถึงระยะเป้าหมาย ปกติโหมดนี้จะไม่ถูกใช้เนื่องจากข้อมูลที่มันให้มีจำกัด อย่างไรก็ตาม มันมีประโยชน์ในการตรวจจับเครื่องบิน เล็ก เร็ว มุ่งหน้ามา หรือภัยคุกคาม ที่ระยะไกลได้ก่อนโหมดอื่นบ่อยๆ ในสภาพแวดล้อมที่มีหลายเป้าหมาย การที่ได้รู้ว่าเครื่องบินลำใดกำลังเข้าใกล้คุณที่ความเร็วสูงที่สุดสามารถช่วยให้ระบุชนิดและประเภทของสิ่งที่น่าจะเป็นภัยคุกคามได้ สเกลความเร็ว 1200 knots ทิศทางที่เป้าหมาย(เคอร์เซอร์)อยู่ อัตราเร็วเข้าหา สเกลความเร็ว 2400 knots http//:FreeBirdsWing.org © May 2004

BVR: Radar Modes (LRS) Long Range Scan (LRS) Mode มีประโยชน์เป็นพิเศษสำหรับการเข้าปะทะหรือทำบทบาท DCA การตรวจหาระยะให้ได้ไกลต้องแลกกับอัตราการสแกน ในรูปด้านข้าง มีเครื่องบินได้ถูกตรวจพบที่ระยะประมาณ 80 ไมล์ วางเคอร์เซอร์ของเรดาห์บนเป้าหมาย (บีบให้มุมกวาดแคบและเพิ่มสแกนบาร์และนำแสดงข้อมูลได้รวดเร็วขึ้นโดยที่ต้องแลกกับพื้นที่ในการสแกน) เป้าหมายอยู่ที่บุลอายส์ 327 ระยะ 74 ไมล์ แองเจิ้ล 35 และสามารถพิสูจน์มิตรหรือศัตรูได้ถ้ามี AWACS อยู่ ถ้าไม่มี กำหนดเป้าหมายหนึ่งครั้งจะให้ค่า ตำแหน่งที่หัน ทิศทางที่ไป ความเร็ว ความเร็วเข้าใกล้และระยะ 160nm Scan เครื่องบินถูกตรวจพบที่ประมาณ 80nm Angels 35 http//:FreeBirdsWing.org Bullseye, 327 for 74 © May 2004

Radar Types Pulse Radars Doppler Radars เช่นนั้น จึงไม่มีความสามารถตรวจจับเป้าหมายเมื่ออยู่ในสถานการณ์ที่มองลงมาเนื่องจากวัตถุที่อยู่บนพื้นดิน โดยทำให้ยากแก่การแยกความแตกต่างระหว่างเป้าหมายกับสิ่งที่ลวงได้ ดังนั้นนักบินที่บินด้วยเครื่องบินที่ใช้ระบบนี้มักจะบินต่ำๆ และใช้เรดาห์ค้นหาขึ้นที่สูง ตัวอย่างเครื่องบินที่ใช้เรดาห์ระบบนี้มี Mig-19 ,Mig-21 and F-5 เรดาห์ระบบนี้ไม่ถูกกระทบด้วยการบีม เพราะว่ามันไม่มีตัวกรองสัญญาณสิ่งที่เคลื่อนที่ช้าออกไป Doppler Radars เรดาห์ชนิดนี้ตรวจจับเป้าหมายโดยขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงความถี่ตามความเร็วที่เปลี่ยน(Doppler frequency) ตัวกรองจะตัดเอาสัญญาณ Doppler ที่คืนมาที่ต่ำกว่าค่าๆหนึ่งออกไป ซึ่งทำให้สามารถมองลงเบื้องล่างได้โดยกรองเอาสิ่งที่อยู่บนพื้นดินออกไป ผลดังนั้น เรดาห์ชนิดนี้จึงอ่อนไหวต่อการบีม(โดยเฉพาะเมื่ออยู่ในสถานการณ์ที่ต้องมองลงมา) ซึ่งสามารถลดอัตราเร็วเข้าหาจนถึงระดับที่แยกไม่ออกจากวัตถุเบื้องหลังบนพื้นดินที่ต่ำกว่าค่าระดับการกรองออกไป เรดาห์ชนิดนี้ยังมีความต้านทานต่อ Chaff (ซึ่งลดความเร็วอย่างรวดเร็วหลังจากถูกปล่อย) ได้สูง http//:FreeBirdsWing.org © May 2004

เข้าต่อตีรูปขบวน ‘โอบล้อม’ Formations รูปขบวน ‘ จงอย่าสลายรูปขบวนไปเป็นหมู่ที่น้อยกว่า หมู่อีลีเมนต์สองลำ จงอยู่เป็นคู่ ๆไว้ คนคนเดียวเป็นภาระหนี้สิน ทีมสองลำจะเป็นทรัพย์ทวีค่า ถ้าคุณหลุดออกไปจากกลุ่ม จงรีบเข้าร่วมกับเครื่องบินฝ่ายเดียวกันทันที ’ Major Thomas B. "Tommy" McGuire, USAAF รูปขบวนก่อนเข้าต่อตี: หลักการบินแบบ ‘Fighting Wing’ ช่วยกำหนดให้มีความสัมพันธ์ที่เข้มงวดระหว่างลีดเดอร์และวิงแมน หน้าที่รับผิดชอบหลัก ๆของผู้นำหมู่(ลีดเดอร์)คือการนำร่อง ค้นหาศัตรูซีกด้านหน้า วางแผนจู่โจม บังคับบินเข้าต่อตี วิงแมนบินเข้ารูปขบวนกับผู้นำหมู่หลวมๆ ปกติคือรูปขบวน ‘Echelon’ (ดูตามรูป) หน้าที่หลักของวิงแมนคือต้องคงรักษาการระมัดระวังซีกด้านหลัง และหน้าที่รองคือต้องตรวจหาศัตรูซีกด้านหน้า โดยที่รูปขบวนนี้ทำให้ลดพื้นที่การมองเห็นครอบคลุมด้านหลัง(6นาฬิกา)ของวิงแมน แต่ข้อได้เปรียบของมันคือได้ทั้งความง่ายในการคงรักษาการติดตามมองผู้นำหมู่ และง่ายในการคงรักษารูปขบวนในขณะบังคับบิน สำหรับวิงแมนที่มีประสบการณ์ รูปขบวน ‘combat-spread’’ (หน้ากระดาน 1-2 nm) ช่วยทำให้ครอบคลุมซีกด้านหลังและประสิทธิภาพการรุกได้ดีขึ้น แต่ทำให้ยากในการคงรักษารูปขบวนถ้าหากต้องทำการบังคับบินอย่างทันทีทันใด Falcon 4.0 Manual PP26-7 to 26-10 เข้าต่อตีรูปขบวน ‘โอบล้อม’ รูปขบวน‘Echelon’ ก่อนเข้าต่อตี http//:FreeBirdsWing.org รูปขบวน ‘Echelon’ (ขั้นๆ)ก่อนการเข้าต่อตี ซึ่งนำมาใช้แปรเข้าต่อตีในรูปขบวน ‘โอบล้อม’ © May 2004 Fighter Combat: Tactics and Maneuvering, by Robert Shaw

Formations (cont.) รูปขบวนเมื่อได้เข้าต่อตี: หลักการ ‘Fighting wing’ โดยที่มีประโยชน์สำหรับเริ่มการฝึกวิงแมนและรูปขบวนก่อนการเข้าต่อตี มักไม่สามารถนำมาใช้ปฏิบัติเมื่อเข้าต่อตีในสถานการณ์อื่นที่นอกเหนือจาก 2v1 ได้อยู่เสมอ (มีหลายเหตุผลซึ่งได้ครอบคลุมไว้ในบทเรียนการรบ ACR) และก็ยังละทิ้งการได้เปรียบที่ได้รับจาก 2v1 เนื่องมาจากลีดของหลักการ fighting wing จำเป็นที่จะต้องเข้าต่อสู้กับศัตรู แบบ 1v1 ขณะที่วิงแมนพยายามติดตามและป้องกันลีดจากข้าศึกลำอื่นไปพร้อมกัน บางทีรูปขบวนเข้าต่อตีที่มีประสิทธิผลและสามัญที่สุดคือรูปขบวนตีโอบล้อม ‘bracket’ ซึ่งกลุ่มเที่ยวบินพยายามให้ข้าศึกหรือกลุ่มข้าศึกอยู่ระหว่างแขนที่ตีโอบ รูปขบวนนี้มีข้อดีในด้านการรุกและรับหลายข้อดังนี้: มันทำให้ง่ายขึ้นแก่สมาชิกของหมู่บินในการคงรักษาการติดตามมองเป้าหมายทั้งหมด ระบุกลยุทธ์ที่พวกมันใช้ และตอบสนองในขณะที่พร้อมกันนั้นก็ทำให้ยากขึ้นแก่ข้าศึกในการทำแบบเดียวกันนี้; มันทำให้ง่ายขึ้นในการจำแนกออกได้ด้วยสายตาว่าใครที่ถูกยิง ทำให้เกิดการสนองตอบแบบป้องกันทันเวลา; มันช่วยกระตุ้นหมู่บินของศัตรูให้บังคับบินออกไปจากกันและกัน และกลายมาเป็นเป้าหมายโดดๆ เช่นกันกับ การทำลาย SA และความสามารถในการสนับสนุนซึ่งกันและกันของพวกมัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในฉากเหตุการณ์แบบ 2v1 , ที่ซึ่งข้าศึกลำเดียวถูกบีบให้เลือกเป้าหมายเข้าต่อตี ดังนั้นจึงปล่อยให้ตนเองถูกโจมตีได้ง่ายจากอีกคน Falcon 4.0 Manual PP26-7 to 26-10 รูปขบวนโอบล้อม http//:FreeBirdsWing.org สำหรับเหตุผลที่ชัดเจน หลักการ fighting wing ยังไม่เหมาะสมต่อรูปขบวนนี้ เนื่องจากการตอบสนองของศัตรูจะตัดสินว่าใครจะกลายมาเป็นผู้เข้าต่อตี ฉะนั้นความสัมพันธ์ระหว่างลีดกับวิงแมนที่ยืดหยุ่นกว่าจึงเป็นที่ต้องการ กลยุทธ์สนับสนุนซึ่งกันและกันเมื่อเข้าต่อตีถูกใช้ต่อกับรูปขบวนต่างๆจะถูกนำมากล่าวในบทเรียนอื่นต่อไป © May 2004 Fighter Combat: Tactics and Maneuvering, by Robert Shaw

BVR Engagements: 6 Phases (Detection) คัดแยก (Sorting) กำหนดเป้าหมาย (Targeting) บินเข้าปะทะ (Intercept) เข้าทำการรบ (Engage) แยกตัวออก (Seperate) http//:FreeBirdsWing.org © May 2004

BVR Engagements: 6 Phases (Detection) 1. ตรวจจับ ใช้โหมด RWS เพื่อเริ่มตรวจจับข้าศึก RWS โหมดใช้อัตราการสแกนที่เร็ว พื้นที่การสแกนที่กว้าง มีพิสัยที่ดี และ เป้าหมายที่ตรวจพบจะถูกนำแสดงเกือบจะในทันที ตั้งค่าบาร์และมุมกวาด เพื่อจะได้พื้นที่ค้นหาที่ครอบคลุมพื้นที่กว้างที่สุด เสริมสร้างสภาพการรับรู้สถานการณ์ ( SA ) ให้ความสนใจ HSD, RWR และ เรดาห์ สแกนท้องฟ้าด้วยสายตาเพื่อหาลำไอเสียและไอที่เกาะกลุ่ม รักษารูปขบวนและการสื่อสารที่ดี: “Falcon11, Falcon12, bogeys at 10 o'clock, bullseye 048 for 78, angles 16" จงนิ่งรับไม่แสดงตัวและลองพยายามหลบหลีกการตรวจจับจากคู่ต่อสู้ อย่าใช้ ECM นอกจากว่าอยู่ในภาวะแวดล้อมที่มีภัยคุกคามสูงหรือไม่เช่นนั้นคุณถูกตรวจจับไปแล้วหรือจวนจะถูกตรวจจับได้แล้ว อย่าล็อคเป้าหมายด้วยเรดาห์ของคุณ จงรับข้อมูลความสูงโดยการวางเคอร์เซอร์บนเป้าหมายและวิทยุถาม AWACS ให้ระบุแจ้งฝ่าย เข้าใจวิธีการทำงานของ Doppler และ Pulse เรดาห์ รู้จุดอ่อนและจุดแข็งของมัน และวิธีทำให้ได้เปรียบมัน อย่าขับตรงเข้าใส่คอนแทคอย่างตรงๆ http//:FreeBirdsWing.org © May 2004

BVR Engagements: 6 Phases (Sorting) 2. การคัดแยก จงตอบคำถามต่อไปนี้: พวกมันเป็นมิตรหรือศัตรู? พวกมันอยู่ในรูปขบวนใด? พวกมันกำลังทำอะไร? ใช้โหมด RWS หรือ TWS สำหรับการคัดแยกเป้าหมาย – ใช้ โหมดขยาย( Expanded) ถ้าจำเป็น อย่าล็อคเป้าหมายจนกระทั่งพร้อมเข้าต่อตีกับมัน และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ถ้าน่าจะ/ปรากฏว่ามีหลายเป้าหมาย จงอย่าใช้โหมด STT นอกจากว่าจะเข้าต่อตีที่ระยะในสายตา (WVR) เพราะคุณจะไม่เห็นเป้าหมายอื่นๆนอกจากเป้าหมายที่ถูกล็อคเท่านั้น จากข้อมูลจากแหล่งข่าวในบรรยายสรุป คุณควรรู้ว่ากลุ่มเที่ยวบินมิตรอื่นใดที่ขึ้นบินบ้าง รู้ว่ากลุ่มเที่ยวบินใดอยู่ข้างหน้าคุณ รอบๆคุณ เป็นพวกใหน กลุ่มใหนมิตรหรือศัตรู คัดแยกมิตรออกจากศัตรูด้วยการระบุแจ้งฝ่ายด้วย AWACS (และ RWR ถ้าเป็นไปได้ – AWACS บางครั้งอาจผิดพลาดได้) และสื่อสารกับกลุ่ม(flight)และชุด(package)เที่ยวบินของคุณ เสริมสร้าง SA แก่คุณเองและกลุ่มเที่ยวบินของคุณโดยการวิทยุบอกสิ่งที่คุณเห็น และยืนยันการได้เห็นสิ่งที่คนอื่นวิทยุบอกสิ่งที่เห็นมา: “Falcon 1 has a two ship, line abreast, high aspect. Left target at angels 16. Right target at angels 17.” “Falcon 2 has a single high aspect target at angels 17” การรบอากาศต่ออากาศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาวะแวดล้อมที่มีหลายเป้าหมาย มีความเปลี่ยนแปรมาก SA ต้องคงรักษาและเสริมสร้างไว้ตลอด อย่าวางใจในข้อมูลเก่าๆ http//:FreeBirdsWing.org © May 2004

BVR Engagements: 6 Phases (Sorting / Targeting) คัดแยก / กำหนดเป้าหมาย Switch to TWS Radar Mode เปลี่ยนโหมดเรดาห์เป็น TWS นี่จะช่วยให้คุณคงรักษาการติดตามข้อมูลจากเป้าหมายทั้งหมด คอยรักษาสภาพ SA ให้สูงขึ้น และทำการระบุตัวและทำให้ได้มาซึ่งกำหนดเป้าหมายที่รับผิดชอบได้ง่ายขึ้น ลีดจะเป็นคนพิจารณาตัดสินว่าใครจะจัดการเป้าหมายใด มันยากในการคัดแยกและกำหนดเป้าหมายข้าศึกหลายลำในรูปขบวนแบบชิด และทำให้ไม่สามารถใช้การวิทยุแบบตำแหน่งอ้างอิง(bulleye)ในทางปฏิบัติได้ ในกรณีนี้ มันง่ายกว่าที่จะระบุและกำหนดแต่เป้าหมายในรูปแบบของตำแหน่งในกลุ่ม ต.ย. ลีด/ลำตาม(Trail) , ซ้าย/ขวา , เหนือ/ใต้/ออก/ตก หันตรง/หันข้าง ความสูง หรืออื่นๆ “Falcon 12, Falcon11, target bandit bullseye 043 for 74, angels 16”; or “Falcon 12, Falcon11, target bandit lead left, angels 16” ถ้าจำเป็นให้สวิทช์ไปเป็นโหมดขยาย (ดูหน้าต่อไป) เพื่อช่วยให้ระบุคอนแทคทั้งหมดและเป้าหมายที่รับผิดชอบได้ชัดเจนขึ้น ถ้าคุณไม่สามารคัดแยกเป้าหมายที่ได้รับผิดชอบได้ ให้ระบุเป้าหมายที่คุณคัดแยกได้และรายงานต่อลีดโดยทันที ควรที่จะมีการบรรยายสรุปล่วงหน้าไว้ถึงระยะที่คุณจะสามารถใช้อาวุธได้เองเลยหากอยู่ในเหตุการณ์ที่คุณไม่สามารถคัดแยกเป้าหมายที่รับผิดชอบได้ แบ่งเป้าหมายด้วยมุมกวาดเรดาห์(Azimuth) แบนด์วิธ และระดับสูงต่ำ พิสูจน์เป้าหมายและรับข้อมูลเส้นทางเข้าปะทะจากเรดาห์ http//:FreeBirdsWing.org © May 2004

BVR Engagements: 6 Phases (Sorting / Targeting cont.) โหมดขยายมีประโยชน์มากในการคัดแยกและกำหนดเป้าหมายใส่คอนแทคบนเรดาห์ ในตัวอย่างข้างล่างนี้ การวิทยุแบบอ้างอิงตำแหน่งไม่สามารถใช้ในการคัดแยกและกำหนดเป้าหมายได้ ใน (A) มันยากในการคัดแยกจำนวนของคอนแทค ข้อมูลและความสูงของพวกมัน และดังนั้นมันยังยากที่จะกำหนดและได้มาซึ่งเป้าหมายที่รับผิดชอบอีกด้วย ในโหมด TWS แบบโหมดขยาย (B) มันกลับชัดเจนขึ้น บอกได้ว่าอยู่ในรูปขบวนแบบ 2 อีลีเมนต์ มีลีดและลำตาม โดยที่ลีดของแต่ละอีลีเมนต์อยู่ที่ด้านซ้ายและลำรองอยู่ด้านขวา ลำรองของลีดอยู่ที่ความสูงแองเจิ้ล 17 และลำอื่นทั้งหมดอยู่ที่แองเจิ้ล 16 โดยที่ได้รับข้อมูลเหล่านี้ มันทำให้ง่ายขึ้นมากในการคัดแยก กำหนดหน้าที่ และกำหนดเป้าหมาย A B Normal Mode Expanded Mode http//:FreeBirdsWing.org TWS Mode TWS Expanded Mode © May 2004

BVR Engagements: 6 Phases (Intercept / Engage) & 5. บินเข้าปะทะและเข้าทำการรบ เค้าโครงการเข้าปะทะถูกออกแบบเพื่อช่วยให้กลุ่มเที่ยวบินได้รับค่าที่เหมาะสมในการใช้อาวุธในขณะที่พยายามปฏิเสธข้าศึกโอกาสแบบเดียวกันนี้ เลือกอาวุธ อาวุธที่อยู่ในความสนใจตอนนี้ก็คือ AIM-120 AMRAAM (ARH BVR Missile) คุณควรเข้าใจสิ่งเหล่านี้: เรดาห์ ECM และความสามารถของอาวุธของคุณ อีกทั้งความสามารถของคู่ต่อสู้ของคุณ สิ่งเหล่านี้จะช่วยพิจารณาตัดสินวิธีในการเข้าปะทะและดำเนินกลยุทธ์ต่อเป้าหมายของคุณ แนวความคิดของขอบเขตการมีอานุภาพของอาวุธ ; Rmax และ Rmin; A-Pole และ E-Pole ; และเหตุที่เป้าหมายที่บังคับบินสามารถมีผลต่อค่าเหล่านี้ แล้วก็เทคนิคในการเข้าปะทะและเข้าทำการรบ (การเข้าปะทะแบบหลายลำและเทคนิคการสนับสนุนซึ่งกันและกันจะถูกกล่าวถึงในบทเรียนเรื่องการเข้าโจมตีขั้นสูง) http//:FreeBirdsWing.org © May 2004

BVR Engagements: 6 Phases (Intercept / Engage) การจู่โจมเข้าปะทะเกี่ยวข้องกับการใช้เรดาห์ในการตรวจจับเป้าหมายเฉพาะ หลังจากนั้นใช้เรขาคณิตการวางแนวเส้นทางเข้าปะทะเพื่อมาถึงยังตำแหน่งที่ซึ่งเป้าหมายสามารถถูกระบุ(ถ้าจำเป็น)และยิงอาวุธได้ เพื่อให้ได้ผลตามนั้น นักบินจะต้อง: เข้าไปใกล้เป้าหมาย เริ่มทำการระบุและคงรักษาผลการระบุที่ดี ถ้าหากจำเป็นต้องทำการบีมหรือปรับเปลี่ยนทิศทาง หาระยะที่เพียงพอจากเป้าหมาย (พื้นที่สำหรับการเลี้ยวปรับทิศทาง) ไปตามเส้นทางเข้าหาตัวโดยตรง หาจุดสำหรับติดตามมอง เริ่มทำการระบุด้วยสายตา (หากจำเป็น) บังคับบินเพื่อให้ได้ค่าที่เหมาะสมของอาวุธ เทคนิคในการทำขั้นตอนเหล่านี้ให้สำเร็จคือแบบพื้นฐานของการเข้าปะทะ http//:FreeBirdsWing.org © May 2004

BVR Engagements: 6 Phases (Intercept / Engage) มี 6 ขั้นตอนในแบบพื้นฐานการเข้าปะทะ: ไปตามเส้นทางดักหน้าจนกระทั่งเหลือระยะ 20 nm โดยใช้เครื่องหมายชี้บอกบังคับทิศทางเข้าปะทะ (intercept steering cue) เริ่มทำการ offset (หักหัวออก) ที่ 20 nm ถ้ามุมจากท้ายข้าศึก(มุมหัน)มากกว่า 120 องศา ให้เลี้ยวออก 40°-50° ในทิศทางตรงข้ามกับทิศที่เป้าหมายหันไป ใช้ความเร็วให้ได้เปรียบและพื้นที่ในการเลี้ยว (ขึ้นข้างบนหรือลงข้างล่าง) เฝ้าติดตามดูมุมหันของเป้าหมาย ใช้โหมดติดตามเป้าหมายเดียว(STT) ที่ 10 miles เริ่มไปตามเส้นทางเข้าหาตัวตรงๆที่มุมหันจากท้ายเป็น 120° (ระยะ 6 - 8 nm สำหรับการเริ่มจากมุมหันมาตรงๆ) ไม่ว่ามุมหันเท่าใด ไปตามเส้นทางเข้าหาตัวที่ 5 nm หรือน้อยกว่า ใช้ BFM บังคับบินเพื่อใช้อาวุธ จงรู้ไว้ว่าจุดมุ่งหมาย(ขึ้นอยู่กับอาวุธ A–A และปฏิกิริยาตอบโต้จากเป้าหมาย) คือทำการเข้าปะทะที่เสร็จสิ้นและเข้าต่อตีที่สำเร็จก่อนขั้นตอนที่ 4 (โดยไม่จำเป็นต้องเข้าสู่การรบที่ระยะภายในสายตา) http//:FreeBirdsWing.org © May 2004 From MCH 11-F16 Vol 5 10 May 1996

BVR Engagements: 6 Phases (Intercept / Engage) เข้าทำการรบ(ต่อตี): ตรวจเช็คหน้าที่ NCTR ใน TWS หรือ STT และทำการยืนยันสุดท้ายว่าได้เข้าทำการรบกับเป้าหมายที่ถูกต้อง เอาเป้าหมายให้มาอยู่ในค่าที่เหมาะสม จงแน่ใจว่าคุณเข้าใจขอบเขตการมีอานุภาพของอาวุธ และ DLZ กำลังบอกอะไรคุณ จงให้ความสนใจระยะ ความเร็ว และด้านที่เห็นของเป้าหมายของคุณ กดปุ่มปล่อยอาวุธและวิทยุแจ้งการปล่อยอาวุธของคุณ: i.e. “Falcon 12, Fox 3, Bullseye 160 for 22, angels 25” วางเป้าหมายบนขอบเรดาห์ด้านข้างเพื่อคงรักษาความเร็วเข้าหาเป้าหมายที่น้อยที่สุด และสนับสนุนมิสไซล์ของคุณจนกระทั่งเข้าสู่อัตโนมัติ( pitbull) ข้อสังเกต: มิสไซล์ที่ไม่ถูกสนับสนุนจนถึงระยะอัตโนมัติอาจจะไม่ได้ติดตามเป้าหมายที่ตั้งใจไว้(มองหาเป้าเอง) กลยุทธ์ทั่วไปอย่างเช่นการบังคับบินเร่งอัดเข้าใส่ควรถูกวางแผนไว้ก่อน นั่นคือ ได้รับบรรยายสรุปมาก่อนที่จะทำเมื่อได้รับค่าที่เหมาะสมแล้ว อย่างเช่นระยะของเป้าหมาย ถ้าจำเป็นต้องต่อสู้แบบ WVR จงแน่ใจว่าได้เลือกอาวุธและเรดาห์โหมดที่เหมาะสม และจัดเตรียม การเข้าปะทะระยะใกล้ซึ่งช่วยให้ได้ค่าที่เหมาะสมของอาวุธในขณะที่กำลังพยายามปฏิเสธข้าศึกโอกาสแบบเดียวกัน อย่ายิงมิสไซล์และลืมมันนอกจากว่าจะหลีกเลี่ยงไม่ได้ มันสำคัญที่จะยืนยันผลจากการยิงเพื่อที่กลุ่มเที่ยวบินของคุณจะได้รู้ว่าข้าศึกขณะนั้นเหลืออยู่เท่าไหร่ http//:FreeBirdsWing.org © May 2004

BVR Engagements: 6 Phases (Intercept / Engage) แนวห่อหุ้มการมีอานุภาพของอาวุธ( Weapons Envelope) คือพื้นที่ที่ซึ่งอาวุธเฉพาะชนิดหนึ่งมีประสิทธิผลต่อเป้าหมายนั้นๆ พื้นที่ที่ทำให้เสียหายได้รูปกรวยของฝ่ายป้องกันถูกกำหนดจากระยะ มุมตำแหน่งจากท้าย มุมทิศทางที่ทำกับเราและวิธีติดตามเส้นทาง เพื่อประมาณช่วงขอบเขตการปล่อยอาวุธของอาวุธเฉพาะชนิดหนึ่ง BFM ถูกนำมาใช้เมื่อจำเป็นเพื่อลดระยะทาง มุมตำแหน่งจากท้าย และมุมทิศทางที่ทำกับเรา เพื่อที่จะเข้าสู่ขอบเขตการมีอานุภาพของอาวุธนี้ แผนภาพด้านข้างคือขอบเขตการมีอานุภาพของอาวุธสำหรับมิสไซล์ที่ยิงได้จากรอบด้านของเป้าหมายโดยที่เป้าหมายกำลังบินในแนวเส้นตรงและอยู่ในแนวระดับเข้ามาที่คุณ ระยะปฏิบัติการมีผลต่อด้านหน้าของข้าศึกมากกว่าข้างหลังมาก สะท้อนความจริงที่ว่าเป้าหมายกำลังบินตรงมาที่มิสไซล์ที่ถูกยิงมาด้านหน้าและเช่นเดียวกับกำลังหนีจากมิสไซล์ที่ยิงจากข้างหลัง มิสไซล์ชนิดเข้าด้านหลังจะไม่มีส่วนด้านหน้าของรูปไข่อย่างนี้ แนวห่อหุ้มการมีอานุภาพของปืนแคนนอนจะกลม เป็นการแสดงถึง Rmax โดยที่ไม่มี Rmin http//:FreeBirdsWing.org © May 2004 Diagram from: How to Live and Die in the Virtual Sky by Dan "Crash" Crenshaw

BVR Engagements: 6 Phases (Intercept / Engage) ขอบเขตนอกคือระยะมากที่สุด แบบอากาศพลศาสตร์ ที่ซึ่งมิสไซล์สามารถนำวิถีเข้าภายในระยะพลาดเป้าที่ทำอันตรายได้ (Rmax) มันสะท้อนให้เห็นความสามารถของแรงขับดันของมิสไซล์ การนำวิถี และระบบควบคุม เช่นเดียวกับความเร็วของเครื่องบินที่ยิงและเป้าหมาย และด้านที่มิสไซล์ถูกยิงเข้าใส่ ขอบเขตในรอบเป้าหมายคือระยะจำกัดที่น้อยที่สุด (Rmin) ขึ้นอยู่กับด้าน นี่อาจจะเป็นผลของช่วงเวลาจุดชนวน ความสามารถในการเลี้ยวของมิสไซล์ ช่วงเวลาปฏิกิริยาการนำวิถี หรือขอบการมองของเรดาห์ รูปร่างของแนวห่อหุ้มการมีผลของอาวุธเปลี่ยนแปลงได้เมื่อเป้าหมายบังคับบินและเลี้ยวดึงหลาย G ที่แนวห่อหุ้มระยะไกลสุดของการบังคับบินไม่สมมาตรกันมาก โดยที่ระยะของด้านที่หันเข้าหามีมากกว่าด้านที่หันออกมาก ใน B) เป้าหมายทำการบังคับบินเลี้ยวเข้าใส่คู่ต่อสู้ทางด้านซ้ายของมัน และออกจากคู่ต่อสู้ทางด้านขวา เฝ้าดูว่า DLZ ตอบสนองต่อการบังคับบินของเป้าหมายได้อย่างไร โดยการเลือกทิศทางและอัตราเร็วในการเลี้ยว เป้าหมายสามารถทำให้มีผลอย่างมากต่อแนวห่อหุ้มระยะที่มากที่สุดนี้ อย่างที่ได้บอกไว้ใน DLZ http//:FreeBirdsWing.org © May 2004 Diagram from: Fighter Combat: Tactics and Maneuvering, by Robert Shaw

BVR Engagements: 6 Phases (Intercept / Engage) เมื่อเป้าหมายเปลี่ยนความเร็วและมุมที่หันไป DLZ จะสะท้อนผลการเปลี่ยนที่เราเห็นจากขอบเขตการมีอานุภาพของอาวุธ สำหรับเป้าหมายที่กำลังบังคับบินตามหน้าที่แล้ว ถ้าเป้าหมายบังคับบินไปสู่มุมหันที่ต่ำ(หันแนวเดียวกับเรา) ระยะที่มีประสิทธิผลสูงสุดจะลดลง และในทำนองเดียวกัน Dynamic Launch Zone เขตระยะการยิงผันแปร DLZ ขอบระยะทั้งหมด R1Max - ระยะไกลสุดที่มิสไซล์จะไปได้ถ้าถูกยิงใส่เป้าหมายที่บินไปตรงๆ( 1g) R2Max – ระยะไกลสุดที่ยิงใส่เป้าหมายที่เลี้ยวคงที่ 6 g ไปสู่มุมหันที่ 0 องศา (หันหลังให้เรา) แล้วเร่งความเร็วเพิ่มอีก300 น็อต ตัวชี้บ่งระยะ (เครื่องหมาย ^) R2Min –ระยะที่น้อยที่สุดที่ยิงใส่เป้าหมายที่เลี้ยวคงที่ 6 g หันมาใส่เรา (มุมหัน 180 องศา) ความเร็วเข้าหา R1Min –ระยะที่น้อยที่สุดที่ยิงใส่เป้าหมายที่บินไปตรงๆ (1 g) http//:FreeBirdsWing.org ตัวชี้บอกระยะทำงานด้วยตัวเอง (วงกลม) ตัวชี้บอกเวลาเข้าสู่การทำงานด้วยตัวเอง A = เวลาเป็นวินาทีที่มิสไซล์ลูกต่อไปจะทำงานด้วยตัวเอง T = เวลาจนกระทั่งมิสไซล์ลูกที่แล้วจะกระทบเป้า © May 2004

BVR Engagements: 6 Phases (Intercept / Engage) “รูปเพชรมีขน” หัวมองหาเป้าของ AIM-120 โดยที่ไม่มีการล็อค ดังนั้นให้วางเป้าที่ตรงกลางวงบอกเป้า (reticle) เป้าหมายอยู่ที่ R2min ของอาวุธที่เลือก จงจำไว้ว่า DLZ มาจากขอบเขตการมีอานภาพของอาวุธ สามารถเปลี่ยนได้กะทันหันถ้าหากเป้าหมายนั้นทำการบังคับบิน เป้าหมายโดนล็อค Reticle จำนวน MRM บนเครื่อง/ HUD โหมด http//:FreeBirdsWing.org เครื่องหมายบอกมุมหัน : ยิ่งใกล้ 6 นาฬิกา (0 องศา - หันไปทางเดียวกับเรา) ยิ่งมีมุมหันน้อยลง (มุมหันต่ำ) ระยะเป้าหมาย MRM โหมด เป้าหมายโดนล็อค © May 2004

BVR Engagements: 6 Phases (Intercept / Engage) ตัวชี้บอกบังคับทิศทางเข้าจู่โจม Attack Steering Cue เมื่อเป้าหมายอยู่นอกระยะยิงไกลสุดของ AIM-120 (R1max) วงบอกเป้าของ AIM-120 จะเป็นวงเล็กๆ ใน HUD เป้าหมายมีมุมหันที่สูง(หันเข้าหาเรา) R2max กล่องกำหนดเป้าหมาย (TD Box) พอเมื่อเป้าหมายเข้าสู่ภายในระยะ R1max วงบอกเป้าของ AIM-120 จะขยายใหญ่ เมื่อเป้าหมายเข้าสู่ระยะ R2max วงบอกเป้าจะกระพริบ บอกให้รู้ถึงค่าที่เหมาะสมที่ดีในการยิง http//:FreeBirdsWing.org © May 2004

BVR Engagements: 6 Phases (Intercept / Engage) A-Pole - ระยะห่างจากเครื่องบินที่ยิงกับเป้าหมายเมื่อมิสไซล์เริ่มทำการนำวิถีด้วยตัวเอง ชัดเจนว่า เครื่องบินที่มีประสิทธิภาพล็อคได้ก่อนยิงได้ก่อนจะมี A-Pole ที่ได้เปรียบ ต.ย. เครื่องบินอย่างเช่น Su-27 ได้เปรียบเช่นที่ว่าต่อ F-16 เพราะเรดาห์ที่ทรงพลังกว่าของมันสามารถทะลวงผ่าน ECM ได้ก่อน อย่างไรก็ตาม การยิงโดยเร็วที่สุดในช่วงขณะที่เป็นไปได้จะไม่จำเป็นว่าจะได้เปรียบเสมอไป ถ้าเป้าหมายนั้นได้แยกออกมาเอาชนะมิสไซล์ของคุณโดยการเคลื่อนที่เปลี่ยนทิศทางอย่างรวดเร็ว (ดู E-Pole) และกลับมาเป็นฝ่ายรุก ยิ่งกว่านั้น ระยะ A-Pole นั้นมันไม่คงที่ ระยะ A-Pole สามารถเพิ่มได้ในสองวิธี : a) โดยการปรับปรุงสมรรถภาพของมิสไซล์ (ด้วยความเร็วและความสูงที่ได้เปรียบ และการยิงทิศทางเข้าหาตัวตรงๆ) และ b) โดยการลดความเร็วเข้าหาเป้าหมายโดยทันทีหลังจากยิง (cranking และ การเบรก) ปัญหาก็คือ a)ค่อนข้างขัดแย้งกับจุดประสงค์ของ b) ที่ว่าความเร็วที่มากเกินไปมีผลเสียต่ออัตราการเลี้ยว รัศมีการเลี้ยว การเบรก และ ความเร็วเข้าหาต่ำ แต่การยิงทิศทางเข้าหาตัวตรงๆ เพิ่มความเร็วเข้าหา ดังนั้นควรตั้งความสมดุลระหว่างตัวแปรเหล่านี้ซึ่งจะช่วยสนับสนุนให้มิสไซล์เข้าสู่”อัตโนมัติ” ด้วยความเร็วเข้าหาเป้าหมายที่น้อยที่สุด ในขณะที่คงรักษาพลังงานเพียงพอที่จะเอาชนะมิสไซล์ใดก็ตามที่เข้ามาได้สำเร็จ (ความเร็วไม่ต่ำกว่าพื้นที่ส่วนบนของที่ราบสูงหรือช่วงความเร็วที่ให้อัตราเลี้ยวดีสุดของเส้นอัตราเลี้ยวต่อความเร็ว) เครื่องบินอย่างเช่น Su-27 ก็มีข้อได้เปรียบในด้านเรดาห์มองมุมด้านข้างที่กว้างกว่าของมัน ช่วยให้มัน crank ได้มากกว่า F-16 ตอนที่กำลังสนับสนุนมิสไซล์ของมัน จงจำไว้ว่าระยะ A-Pole ไม่ได้ถูกตัดสินจากเพียงการบังคับบินของคุณ แต่ยังจากการบังคับบินจากเป้าหมายของคุณอีกด้วย ดูตัวบอกเวลาเข้าสู่การทำงานด้วยตัวเองในหน้าของ DLZ http//:FreeBirdsWing.org © May 2004

BVR Engagements: 6 Phases (Intercept / Engage) E-Pole – ระยะจากเครื่องบินที่เป็นภัยคุกคามที่ซึ่งเมื่อได้ทำการวกกลับ (drag) เสร็จสิ้นจะเอาชนะมิสไซล์ใดๆที่ข้าศึกได้ยิงมาหรือกำลังยิงมาได้ จุดประสงค์คือการบังคับบินไปอยู่ในตำแหน่งที่ปล่อยมิสไซล์ของเรามีโอกาสปะทะได้สูง ขณะที่เพิ่มระยะ A-Pole ให้มากที่สุดและคงรักษาการแยกตัวที่เพียงพอเพื่อที่จะเอาชนะมิสไซล์ที่เข้ามาได้ โดยที่เป็นที่ต้องการ ค่าที่เหมาะสมในการยิงที่ดีควรมีเป้าหมายอยู่ในระยะ E-Pole ของเขา ขณะที่เราคงให้อยู่นอกของเรา โดยที่ถือว่าเราไม่อยู่ในตำแหน่งที่ E-Pole เสียเปรียบ ตรงนี้คือวิธีที่เราบรรลุค่าที่เหมาะสมเหล่านี้: ระยะ E-Pole นั้นยากในการคำนวณให้ถูกต้องเพราะว่ามันไม่ได้ถูกตัดสินจากเพียงชนิดของมิสไซล์และความเร็วกับความสูงของเครื่องบินที่ยิง แต่ยังความเร็ว อัตราเร็วเข้าหา มุมต่าง ความสามารถในการเลี้ยวและการเร่งความเร็วของเป้าหมายอีกด้วย (ขึ้นอยู่กับชนิดของเครื่องบินและอาวุธที่ติดตั้งมา) และการนึกรู้ได้ถึงการที่ยิงมาก่อน ยิ่งเป้าหมายทำมุมต่างครั้งแรกตอนเวลาที่ผู้โจมตียิงมากเท่าไร ก็ยิ่งนึกรู้ถึงการยิงของศัตรูได้เร็วขึ้นเท่านั้น และยิ่งมีความสามารถในการจัดการใช้พลังงานและอัตราการเลี้ยวและเร่งหนีเพื่อป้องกันดีขึ้นเท่าไร ก็ยิ่งต้องการระยะห่างจากเครื่องบินที่เป็นภัยคุกคามน้อยลงเท่านั้น ฉะนั้น โดยการใช้เรขาคณิตการวางแนวทิศทางอย่างเช่นการยิงที่มีมุมต่างที่ทำต่อกันและการไม่เปิดโอกาสในการยิงใส่เราแบบประจันหน้า เราสามารถสร้าง E-Pole ที่ได้เปรียบได้ โดยที่เป็นคำแนะนำคร่าวๆสำหรับ F-16 vs AA-12 ระยะ 10-14 nm จากเครื่องบินที่เป็นภัยคุกคามขณะเวลายิง(ขึ้นอยู่กับตัวแปรอย่างที่อธิบายข้างบน) ถือว่าเป็นระยะ E-Poleที่น้อยที่สุดอย่างมีเหตุผล http//:FreeBirdsWing.org © May 2004

BVR Engagements: 6 Phases (Separate) 6. แยกตัวออก: แผนการแยกตัวออกและออกไปยังเส้นทางควรได้รับการบรรยายสรุปก่อน ถ้าคุณใช้อาวุธหรือเชื้อเพลิงจนเหลือน้อย คุณไม่สามารถคงความได้เปรียบอยู่ได้ เครื่องบินข้าศึกปรากฏมากขึ้น,หรือบทบาทของกลุ่มเที่ยวบินของคุณทำการรบต่ออย่างไม่พึงประสงค์ เพื่อที่จะแยกตัวออกจากการรบโดยปลอดภัย คุณจำเป็นที่จะต้องรู้วิธีระบุชี้และใช้ประโยชน์ของช่องทางหนี คุณจะกลับเข้ารบ? ทำภารกิจต่อ? กลับสู่ฐาน? กลับทิศทางใด? ลีดควรวิทยุแจ้งทิศทางที่ไป ความเร็วและความสูง เพื่อจำกัดการแยกตัวออก ขณะที่กลุ่มเที่ยวบินสร้างสภาพการรับรู้สถานการณ์ขึ้นมาใหม่โดยทันทีหลังจากการรบ; ตรวจดู HSD ของคุณเพื่อระบุชี้ถึงที่เหลือของกลุ่มคุณและกลับเข้ามาอยู่ในรูปขบวนโดยเร็วที่สุดเท่าที่เป็นไปได้; ตรวจเรดาห์และ RWR ; สแกนมองพื้นที่เพื่อหาภัยคุกคามด้วยสายตา; เช็คอินกับ AWACS หากเป็นไปได้ อย่าเพิ่งคิดเกี่ยวกับการผ่อนคลายจนกว่าคุณจะแน่ใจ 100% เต็มว่าพื้นที่นั้นไม่มีภัยหรือหรือคุณได้กลับเข้าสู่บริเวณพื้นที่ที่ปลอดภัยหลังจากการแยกตัวออก อย่าเตร็ดเตร่ในพื้นที่นั้นนอกจากว่าภารกิจของคุณจะต้องการมัน http//:FreeBirdsWing.org © May 2004

BVR: Managing the engagement การบริหารจัดการเข้าต่อตี: ภายในระยะ Rmax ของข้าศึก ถ้าคุณมีมิสไซล์ในอากาศ และคุณยังไม่โดนล็อค คุณกำลังได้เปรียบและควร press หัวกลับไปเตรียมยิงลูกต่อไป ภายในระยะ Rmax ของข้าศึก ถ้าคุณมีมิสไซล์ในอากาศ แต่คุณกำลังถูกล็อคอยู่ คุณควร crank ไปขอบด้านข้างเพื่อสนับสนุนมิสไซล์ของคุณจนถึงเวลามันทำงานด้วยตัวเอง เป็นการเพิ่ม A-Pole ให้มากที่สุดและลดระยะ E-Pole ให้น้อยที่สุด ถ้าคุณหลุดออกจากการถูกล็อคและข้าศึกไม่มีมิสไซล์ในอากาศ ทำ press และจงเตรียมพร้อมทำการยิงลูกต่อไป ถ้าคุณยังถูกล็อคอยู่ จงให้ความสนใจระยะ E-Pole ของคุณ บังคับบินทำบีม และจงเตรียมที่จะเลี้ยววกกลับแบบป้องกัน (defensive drag) ถ้าคุณกำลังได้เปรียบแต่ว่าถูกล็อค บังคับบินทำบีมแบบทั้งหมู่ บังคับบินแบบแยกเป็นคู่ๆช่วยให้ข้าศึกเห็นได้ง่ายขึ้น และแสดงให้เห็นสองเป้าหมายแทนที่จะเป็นเป้าหมายเดียวแก่ข้าศึกที่ทำการล็อคอยู่ ถ้าคุณไม่มีมิสไซล์ในอากาศ หรือไม่ได้บัก/ล็อคเป้าหมาย แต่คุณถูกล็อคอยู่เช่นนั้นคุณกำลังเสียเปรียบ ทำ Crank เรดาห์ที่ขอบข้าง พยายามล็อคข้าศึกต่อไป และจงระวังระยะ E-Pole ของคุณ ถ้าคุณหลุดออกจากการถูกล็อค เช่นนั้นให้กลับเข้าทำ press ถ้าคุณยังถูกล็อคล็อคอยู่ บังคับบินทำบีม จงจับตาดูระยะ E-Pole ของคุณ และจงเตรียมทำการวกกลับแบบป้องกัน http//:FreeBirdsWing.org © May 2004 Thanks to Marlin for this analysis of the BVR engagement